พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงพลังงานในการเกิดสารประกอบไอออนิก วัฏจักรบอร์น-ฮาเบอร์ (Born-Haber cycyle) ตั้งสมมติฐานว่า การเกิดสารประกอบไอออนิกชนิดหนึ่งๆ นั้นมีหลายขั้นตอน ขึ้นอยู่กับสมบัติขอองสารตั้งต้น ในแต่ละขั้นตอนมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานเกิดขึ้นด้วยพลังงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง Max Born Fritz Haber
พลังงานที่เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอน 1 พลังงานที่เกี่ยวข้องกับโลหะ โลหะ(s) โลหะ(g) โลหะ(l) โลหะ(g) โลหะ(g) โลหะไอออนบวก(g) + ne- พลังงานการระเหิด (heat of sublimation : Hsub) พลังงานการระเหย (heat of vaporisation : Hvap) พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy : IE)
พลังงานที่เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอน 2 พลังงานที่เกี่ยวข้องกับอโลหะ X2(l) X2(g) X2(g) 2X(g) X(g) + me- Xm-(g) พลังงานการระเหย (heat of vaporisation : Hvap) พลังงานการสลายพันธะ (Dissociation energy: D) พลังงานสัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron affinity : EA)
พลังงานที่เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอน 3 พลังงานที่เกี่ยวข้องกับไอออนบวกและไอออนลบ โลหะไอออนบวก(g) + อโลหะไอออนลบ(g) สารประกอบไอออนิก(s) พลังงานโครงผลึกหรือพลังงานแลตทิช (Lattice energy: U)
พลังงานที่เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอน 4 พลังงานที่เกี่ยวข้องกับการเกิดสารประกอบไอออนิกโดยตรง โลหะ (s) + อโลหะ(l,g) สารประกอบไอออนิก(s) พลังงานรวมของการเกิดปฏิกิริยา (heat of formation : Hf)
พลังงานที่เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอน เครื่องหมาย “+” เป็นการใช้พลังงาน (ดูดความร้อน) เครื่องหมาย “-” เป็นการให้พลังงาน (คายความร้อน) กระบวนการในการเกิดสารประกอบไอออนิก พลังงานที่เกี่ยวข้องกับโลหะ พลังงานที่เกี่ยวข้องกับการเกิดสารประกอบไอออนิกโดยตรง + = พลังงานที่เกี่ยวข้องกับอโลหะ + พลังงานที่เกี่ยวข้องกับไอออนบวกและไอออนลบ
การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) Na(s) Na(g) Na+(g) NaCl(s) 1 2 Cl2(g) Cl(g) Cl-(g)
การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ขั้นที่ 1 Na(s) + 109 kJ Na(g) Hsub = 107 kJ + พลังงาน ขั้นที่ 2 Na(g) + 498 kJ Na+(g) + e- IE1= 496 kJ + พลังงาน +
การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) เป็น ½ เพราะการดุลสมการ ขั้นที่ 3 1 2 Cl2(g) + 122 kJ Cl(g) 1 2 D = 122 kJ + พลังงาน ขั้นที่ 4 Cl(g) + e- Cl-(g) EA = -349 kJ +
การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ขั้นที่ 5 Na+(g) + Cl-(g) NaCl(g) U = -787 kJ + พลังงาน สมการรวมของปฏิกิริยา Na(s) + 1 2 Cl2(g) NaCl(s) Hf = -411 kJ + พลังงาน +
การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) แสดงว่าในการเกิด NaCl(s) เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน คือ เมื่อเกิด NaCl 1 mol จะคายพลังงานเท่ากับ 411 kJ การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ขั้นที่ 1 Na(s) + 107 kJ Na(g) Hsub หรือ H1 = 107 kJ ขั้นที่ 2 Na(g) + 496 kJ Na+(g) + e- IE1 หรือ H2 = 496 kJ ขั้นที่ 3 1 2 Cl2(g) + 122 kJ Cl(g) 1 2 D หรือ H3 = 122 kJ ขั้นที่ 4 Cl(g) + e- Cl-(g) + 349kJ EA หรือ H4 = -349 kJ ขั้นที่ 5 Na+(g) + Cl-(g) NaCl(s) + 787kJ U หรือ H5 = -787 kJ ขั้นที่ 1+2+3+4+5 จะได้ สมการรวม Na(s) + 1 2 Cl2(g) NaCl(s) Hf = 107kJ + 496kJ + 122kJ + (-349)kJ + (-787kJ) = -411kJ
ถ้านำขั้นตอนต่าง ๆ มาเขียนแสดงเป็นแผนผังตามลำดับ จะเรียกว่า Born Haber Cycle ซึ่งเป็นแผนผังแสดงขั้นตอนของการการเกิดปฏิกิริยาและการเปลี่ยนแปลงพลังงานในแต่ละขั้น ดังนี้
จงหาสมการรวม และคำนวณหาค่าพลังงานการเกิด MgCl2(s) 1 mol กำหนดให้ พลังงานโครงร่างผลึก (Lattice energy: U) = -2,526 kJ/mol พลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 ของ Mg = +738 kJ/mol พลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 2 ของ Mg = +1,451 kJ/mol พลังงานสลายพันธะของ Cl2 (Dissociation energy: D) = +244 kJ/mol พลังงานสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนของ Cl = -349 kJ/mol พลังงานการระเหิด (heat of sublimation : Hsub) = +150 kJ/mol
สมการรวม Mg(s) + Cl2(g) MgCl2(s) ขั้นที่ 1 Mg(s) Mg(g) Hsub = +150 kJ/mol ขั้นที่ 2 Mg(g) Mg+(g) + e- IE1= +738 kJ/mol MgCl2 Mg+(g) Mg2+(g) + e- IE2= +1,451 kJ/mol ขั้นที่ 3 Cl2(g) 2Cl(g) D = +244 kJ/mol Mg2+ 2Cl- ขั้นที่ 4 Cl(g) + e- Cl-(g) EA = -349 kJ/mol 2Cl(g) + 2e- 2Cl-(g) EA = -698 kJ/mol ขั้นที่ 5 Mg2+(g) + 2Cl- MgCl2 U = -2,526 kJ/mol สมการรวม Mg(s) + Cl2(g) MgCl2(s) Hf = (+150kJ/mol) + (+738 kJ/mol) + (+1,451 kJ/mol) + (+244 kJ/mol + (-698kJ/mol) + (-2,526 kJ/mol) = -641 kJ/mol
สมบัติของสารประกอบไอออนิก 1. สารประกอบไอออนิกทุกชนิดมีสถานะเป็นของแข็ง หรือผลึกที่อุณหภูมิห้อง และเปราะ เมื่อทุบผลึกของสารไอออนิกจะเกิดการเลื่อนไถลของไอออนไปตามระนาบผลึก เป็นผลให้ไอออนชนิดเดียวกันเลื่อนไปอยู่ตรงกัน จึงเกิดแรงผลักระหว่างไอออน ทำให้ผลึกแตกออก โครงสร้างของสารประกอบไอออนิกมีลักษณะเป็นผลึกทรงเป็นรูปลูกบาศก์ ประกอบด้วยไอออนบวกและไอออนลบเรียงสลับกันเป็นสามมิติแบบต่างๆ ไม่สามารถแยกเป็น โมเลกุลเดี่ยวๆ ได้
สมบัติของสารประกอบไอออนิก 2. สารประกอบไอออนิกไม่นำไฟฟ้าเมื่อเป็นของแข็ง แต่เมื่อหลอมเหลวหรือละลายน้ำจะนำไฟฟ้าได้ดี เมื่อทุบผลึกของสารไอออนิกจะเกิดการเลื่อนไถลของไอออนไปตามระนาบผลึก เป็นผลให้ไอออนชนิดเดียวกันเลื่อนไปอยู่ตรงกัน จึงเกิดแรงผลักระหว่างไอออน ทำให้ผลึกแตกออก
สมบัติของสารประกอบไอออนิก 3. สารประกอบไอออนิกมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูงมาก ความร้อนในการทำลายแรงดึงดูดระหว่างไอออนให้กลายเป็นของเหลวต้องใช้พลังงานสูง
สมบัติของสารประกอบไอออนิก 4. สารประกอบไอออนิกบางชนิดละลายน้ำได้ดี และบางชนิดไม่ละลายน้ำ เกลือแกง (NaCl) บางชนิดไม่ละลายน้ำ เช่น หินปูน (CaCO3) สารประกอบไอออนิกละลายน้ำได้ เนื่องจากแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของน้ำกับไอออนมีค่ามากกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวกกับไอออนลบ
การละลายของสารประกอบไอออนิก s เมื่อนำสารประกอบไอออนิกไปละลายน้ำ น้ำ (มีขั้ว) หันด้านขั้วบวกเข้าหาไอออนลบและหันด้านขั้วลบเข้าหาไอออนบวกที่อยู่บริเวณผิวของผลึกไอออนิก ถ้าแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของน้ำกับไอออนที่ผิวผลึกไอออนิกมาก กว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวกและไอออนลบภายในผลึกไอออนิก ผลึกไอออนิกนั้นก็จะละลายน้ำได้ เกิดแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของน้ำกับไอออนของผลึกไอออนิกขึ้น
พลังงานกับการละลายของสารประกอบไอออนิก s เมื่อให้สารประกอบไอออนิกละลายน้ำ จะเกิดการเปลี่ยนแปลง 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ไอออนบวกและไอออนลบหลุดออกจากโครงผลึก โดยไอออนที่หลุดออกมาจะอยู่ในสภาวะแก๊ส และมีการใช้พลังงานปริมาณหนึ่ง พลังงานที่ใช้ในขั้นนี้ เรียกว่า พลังงานแลตทิช หรือพลังงานโครงร่างผลึก (Lattice Energy ) เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงาน เพราะต้องใช้พลังงานเพื่อสลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวกกับไออออนลบ ขั้นที่ 2 ไอออนบวกและไอออนลบในภาวะก๊าซรวมตัวกับโมเลกุลของน้ำ กลายเป็นไอออนที่ถูกไฮเดรต เนื่องจากขั้นนี้เกิดแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวก และไอออนลบกับโมเลกุลของน้ำ ขั้นนี้จึงเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน พลังงานที่คายออกมาเรียกว่า พลังงานไฮเดรชัน เช่น เมื่อ โซเดียมคลอไรด์ ละลายน้ำ จะเกิดการเปลื่ยนแปลง 2 ขั้นดังนี้ เกลือ(s) + พลังงานแลตทิช ไอออนบวก(g) + ไอออนลบ(g) ขั้นที่ 2 ไอออนที่หลุดออกมา ถูกล้อมรอบด้วยโมเลกุลของน้ำ และมีการคายพลังงานออกมาปริมาณหนึ่ง เรียกว่า พลังงานไฮเดรชัน (Hydration energy) เกลือ(s) ไอออนบวก(aq) + ไอออนลบ(aq) Hsoln = (+พลังงานแลตทิช) + (-พลังงานไฮเดรชัน) ไอออนบวก(g) + ไอออนลบ(g) ไอออนบวก(aq) + ไอออนลบ(aq)
พลังงานกับการละลายของสารประกอบไอออนิก s ขั้นที่ 1 NaCl(s) + พลังงานแลตทิช Na+(g) + Cl-(g) : ดูดพลังงาน Hlatt หรือ H1 ขั้นที่ 2 Na+(g) + Cl-(g) Na+(aq) + Cl-(aq) : คายพลังงาน Hhyd หรือH2 สมการรวม NaCl(s) + พลังงานแลตทิช Na+(aq) + Cl-(aq) : Hsoln หรือ H3 เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงาน เพราะต้องใช้พลังงานเพื่อสลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวกกับไออออนลบ ขั้นที่ 2 ไอออนบวกและไอออนลบในภาวะก๊าซรวมตัวกับโมเลกุลของน้ำ กลายเป็นไอออนที่ถูกไฮเดรต เนื่องจากขั้นนี้เกิดแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวก และไอออนลบกับโมเลกุลของน้ำ ขั้นนี้จึงเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน พลังงานที่คายออกมาเรียกว่า พลังงานไฮเดรชัน เช่น เมื่อ โซเดียมคลอไรด์ ละลายน้ำ จะเกิดการเปลื่ยนแปลง 2 ขั้นดังนี้ โดย : H3 = H1 + H2 ถ้า H3 เป็นค่าบวกแสดงว่าดูดความร้อน ถ้า H3 เป็นค่าลบแสดงว่าคายความร้อน
พลังงานกับการละลายของสารประกอบไอออนิก s เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงาน เพราะต้องใช้พลังงานเพื่อสลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวกกับไออออนลบ ขั้นที่ 2 ไอออนบวกและไอออนลบในภาวะก๊าซรวมตัวกับโมเลกุลของน้ำ กลายเป็นไอออนที่ถูกไฮเดรต เนื่องจากขั้นนี้เกิดแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวก และไอออนลบกับโมเลกุลของน้ำ ขั้นนี้จึงเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน พลังงานที่คายออกมาเรียกว่า พลังงานไฮเดรชัน เช่น เมื่อ โซเดียมคลอไรด์ ละลายน้ำ จะเกิดการเปลื่ยนแปลง 2 ขั้นดังนี้
เราสามารถคิดคำนวณได้ว่าการละลายของสารไอออนิกชนิดต่าง ๆ เมื่อละลายแล้วจะทำให้อุณหภูมิเพิ่มขึ้นหรือลดลงเท่าไร ถ้าเราทราบข้อมูลต่อไปนี้ ทราบพลังงานการละลาย (Hsol) ของสารนั้น ๆ ทราบมวลของตัวละลาย(ตัวถูกละลาย) ทราบมวลของตัวทำละลายและความร้อนจำเพาะ (c หรือ s) กำหนดให้ Q : ปริมาณความร้อน (J หรือ calories โดย 1 cal = 4.2 J) m : น้ำหนักของตัวทำละลาย (g) c หรือ s : ความจุความร้อนของตัวทำละลาย (ถ้าตัวทำละลายคือน้ำ c หรือ s = 1 แคลอรี/กรัม หรือ 4.2 J/g C) t : อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง (C) Q = mct หรือ = mst
NaCl(s) → Na+(aq) + Cl-(aq) ; Hsol = + 18 kJ/mol ตัวอย่าง ถ้าทำให้โซเดียมคลอไรด์จำนวน 1 โมล ละลายในน้ำ 1 ลิตร อุณหภูมิจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร ถ้าความร้อนจำเพาะของน้ำคือ 1 cal/g หรือ 4.2 J/g และพลังงานของการละลายเป็นดังสมการ NaCl(s) → Na+(aq) + Cl-(aq) ; Hsol = + 18 kJ/mol วิธีทำ Q (ปริมาณความร้อน) = 18 kJ = 18 x 1,000 J = 18,000 J หรือ = 4,285.71 แคลอรี m (น้ำหนักของน้ำ) = 1,000 กรัม c หรือ s (ความจุความร้อนของน้ำ) = 1 แคลอรี/กรัม หรือ 4.2 จูล/กรัม สมการ Q = mct หรือ mst t = 4.28 C ที่พลังงานการละลายที่กำหนดให้คือ Hsol= +18 kJ/mol เป็นการละลายแบบดูดความร้อน ฉะนั้น t ที่คำนวณได้จึงเป็นอุณหภูมิที่ลดลง การละลายดังกล่าวจึงมีผลให้อุณหภูมิลดลง 4.28 C
พลังงานกับการละลายของสารประกอบไอออนิก s เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงาน เพราะต้องใช้พลังงานเพื่อสลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวกกับไออออนลบ ขั้นที่ 2 ไอออนบวกและไอออนลบในภาวะก๊าซรวมตัวกับโมเลกุลของน้ำ กลายเป็นไอออนที่ถูกไฮเดรต เนื่องจากขั้นนี้เกิดแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวก และไอออนลบกับโมเลกุลของน้ำ ขั้นนี้จึงเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน พลังงานที่คายออกมาเรียกว่า พลังงานไฮเดรชัน เช่น เมื่อ โซเดียมคลอไรด์ ละลายน้ำ จะเกิดการเปลื่ยนแปลง 2 ขั้นดังนี้ เกณฑ์การละลาย
กฎของการละลายสาร ALWAYS SOLUBLE ประเภทที่ละลายได้เสมอ คือ ประเภทที่มีไอออนเหล่านี้เป็นองค์ประกอบ alkali metal ions (Li+, Na+, K+, Rb+, Cs+) NH4+ NO3- CH3COO- ClO3-, ClO4- ยกเว้น CH3COOAg ไม่ละลายน้ำ
กฎของการละลายสาร USUALLY SOLUBLE ประเภทที่ละลายได้เป็นส่วนใหญ่แต่มีข้อยกเว้นบ้าง สารที่มี Cl-, Br-, I- เป็นองค์ประกอบ ยกเว้นถ้ารวมตัวกับ Ag+, Pb2+, Hg22+ จะไม่ละลาย PbCl2 ละลายน้ำได้เล็กน้อย สารที่มี SO42- เป็นองค์ประกอบ ยกเว้นถ้ารวมตัวกับ Ca2+, Ba2+, Sr2+, Pb2+ จะไม่ละลายหรือละลายเล็กน้อย แต่ MgSO4 ละลายน้ำได้ สารที่มี F- เป็นองค์ประกอบ ยกเว้นถ้ารวมตัวกับ Ca2+, Ba2+, Sr2+, Pb2+, Mg2+ จะไม่ละลายหรือละลายเล็กน้อย
กฎของการละลายสาร USUALLY INSOLUBLE ประเภทที่ไม่ละลาย สารประกอบออกไซด์ (O2-) และไฮดรอกไซด์ (OH-) เป็นองค์ประกอบ ยกเว้นถ้ารวมตัวกับ Ca2+, Ba2+, Sr2+ จะละลายได้เล็กน้อย
กฎของการละลายสาร NEVER SOLUBLE ประเภทที่ไม่ละลายเลย สารที่มี CO32-, PO43-, S2-, SO32-, CrO42-, C2O42- เป็นองค์ประกอบ ยกเว้นถ้ารวมตัวกับโลหะอัลคาไล และ NH4+ ละลายได้ C2O42- oxalate ดูหนังสือ
สารต่อไปนี้ละลายน้ำได้หรือไม่? Na2S ZnCO3 Cr(OH)3 (NH4)2CO3 PbCl2 Na+ ละลายน้ำได้ดี ไม่ละลายน้ำ Zn2+ รวมตัวกับ CO32- ไม่ละลายน้ำ ไม่ละลายน้ำ Cr3+ รวมตัวกับ OH- ไม่ละลายน้ำ ละลายน้ำ NH4+ ละลายน้ำได้ดี ละลายน้ำเล็กน้อย ละลายน้ำได้เล็กน้อย
ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก สารละลาย BaCl2 สารละลาย Na2SO4 BaCl2(aq) + Na2SO4(aq) 2NaCl(aq) + BaSO4(s)
ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก สารละลาย BaCl2 สารละลาย Na2SO4 BaCl2 Ba2+(aq) + 2Cl-(aq) Na2SO4 2Na+(aq) + SO42-(aq)
ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก สมการไอออนิก BaCl2(aq) + Na2SO4(aq) 2NaCl(aq) + BaSO4(s) Ba2+(aq) + 2Cl-(aq) + 2Na+(aq) + SO42-(aq) 2Na+(aq) + 2Cl-(aq) + BaSO4(s)
ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก สมการไอออนิก คือ สมการที่แสดงไอออนบวกและไอออนลบของสารประกอบในสารละลายทั้งหมด สมการไอออนิก
หลักทั่วไปในการเขียนสมการไอออนิก 1. ให้เขียนเฉพาะส่วนไอออนหรือโมเลกุลของสารทำปฏิกิริยากันเท่านั้น เขียนเฉพาะ BaCl2(aq) + Na2SO4(aq) Ba2+(aq) + 2Cl-(aq) + 2Na+(aq) + SO42-(aq)
หลักทั่วไปในการเขียนสมการไอออนิก 2. ถ้าเป็นสารที่ไม่ละลายน้ำ, ไม่แตกตัวเป็นไอออน, เป็นออกไซด์, เป็นก๊าซ ให้เขียนสูตรโมเลกุลของสารนั้นในสมการได้ ตัวอย่างออกไซด์ เช่น CO2(l,g) H2O(l,g) ก๊าซ เช่น H2(g) NH3(g) สารที่ไม่ละลายน้ำ เช่น CaCO3(s) AgCl(s)
หลักทั่วไปในการเขียนสมการไอออนิก 3. ดุลสมการไอออนิก โดยทำจำนวนอะตอมและจำนวนไอออนของธาตุทุกธาตุทั้งทางซ้ายและทางขวาของสมการให้เท่ากัน ดุลประจุรวมทั้งทางซ้ายและขวาของสมการให้เท่ากัน
สมการไอออนิก สารละลาย BaCl2 กับสารละลาย Na2SO4 สมการไอออนิก Ba2+(aq) + 2Cl-(aq) + Na+(aq) + SO42-(aq) Na+(aq) + 2Cl-(aq) + BaSO4(s) สมการไอออนิกสุทธิ สมการไอออนิกสุทธิ คือ สมการที่แสดงเฉพาะไอออนบวกและไอออนลบที่เข้าทำปฏิกิริยากัน Ba2+(aq) + SO42-(aq) BaSO4(s)
Lead (II) nitrate (Pb(NO3)2) & Potassium iodide (KI)
Pb(NO3)2 กับ KI จงเขียนสมการไอออนิกและสมการไอออนิกสุทธิ ขั้นที่ 1 Pb(NO3)2(aq) + 2KI(aq) PbI2(s) + 2KNO3 (aq) ขั้นที่ 2 Pb2+(aq) + 2NO3-(aq) + 2K+(aq) + 2I-(aq) PbI2(s) + 2K+(aq) + 2NO3-(aq) ขั้นที่ 3 Pb2+(aq) + 2I-(aq) PbI2(s) สมการไอออนิกสุทธิ
KOH ละลายน้ำเขียนสมการไอออนิกได้ดังนี้ KOH(s) K+(aq) + OH-(aq) จงเขียนสมการไอออนิกที่เกิดจากการผสมสารละลาย AgNO3(aq) กับ CaBr2(aq) ขั้นที่ 1 2AgNO3(aq) + CaBr2(aq) 2AgBr(s) + Ca(NO3)2(aq) ขั้นที่ 2 2Ag+(aq) + 2NO3-(aq) + Ca2+(aq) + 2Br-(aq) 2AgBr(s) + Ca2+(aq) + 2NO3-(aq) ขั้นที่ 3 2Ag+(aq) + 2Br-(aq) 2AgBr(s) สมการไอออนิกสุทธิ