การประชาสัมพันธ์เบื้องต้นสำหรับงานสิ่งแวดล้อม Introduction to Public Relation for Environment อาจารย์น้ำทิพย์ คำแร่
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความสำคัญของการประชาสัมพันธ์ ต่อการส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม หลักการสร้างและใช้ สื่อประชาสัมพันธ์ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ วิทยุโทรทัศน์ เพื่อการเผยแพร่ข้อมูลสิ่งแวดล้อม การศึกษาดูงาน กระบวนการผลิต และเผยแพร่สื่อต่าง ๆ
การประชาสัมพันธ์ คือ การดำเนินงานของสถาบัน องค์การ หน่วยงาน ซึ่งต้องใช้ความสามารถทั้งศาสตร์และศิลป์ ในการดำเนินงานสื่อสารเพื่อสร้างสรรค์ ความรู้ ความเข้าใจ และความสัมพันธ์อันดีกับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย เพื่อก่อให้เกิดความสนับสนุน ร่วมมือ เชื่อถือ ศรัทธา ตลอดจนการสร้างชื่อเสียง เกียรติยศ การยอมรับ และ ความไว้วางใจ จนนำมาซึ่ง ความสำเร็จขององค์การ
ความสำคัญของการประชาสัมพันธ์ กระบวนการสื่อสารของสถาบัน องค์การหน่วยงาน กับ ประชาชนหรือสังคม เพื่อ การพัฒนาสร้างเสริมฟื้นฟูธำรงรักษาภาพลักษณ์ สัมพันธภาพอันดี
ลักษณะสำคัญของการสื่อสาร 1. การสื่อสารเป็นกระบวนการที่เป็นพลวัตร (Dynamic Process) 2. การสื่อสารมีกระบวนการทำงานที่เป็นระบบ (Systematic Process) 3. เป็น “สัญลักษณ์” (Symbol) 4. มี “ความหมาย” (Meaning) 5. การสื่อสารเป็นการกระทำที่เกิดจากความตั้งใจ (intent) และมีจุดหมาย (Purposive) ในการก่อให้เกิดผลอย่างใดอย่างหนึ่ง
ความสำคัญของการสื่อสาร 1. การสื่อสารเป็นบ่อเกิดของอารยธรรมมนุษย์ 2. การสื่อสารเชื่อมโยงบุคคลและสังคมเข้าด้วยกัน 3. การสื่อสารเป็นเครื่องมือและกลไกในการดำเนินชีวิต
วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร ผู้ส่งสาร 1.เพื่อบอกกล่าว (to inform) 2.เพื่อให้ความรู้ (to educate) 3.เพื่อโน้มน้าวใจ (to persuade) 4.เพื่อสร้างความเพลิดเพลิน (to please) ผู้รับสาร 1.เพื่อเข้าใจ (to understand) 2.เพื่อเรียนรู้ (to learn) 3.เพื่อตัดสินใจ (to decide) 4.เพื่อแสวงหาความเพลิดเพลิน (to enjoy)
องค์ประกอบของกระบวนการสื่อสาร message สื่อ media/channel ผู้ส่งสาร sender ผู้รับสาร receiver การตอบกลับ feedback (ปัทมา จันทร์เจริญสุข, 2556)
ประเภทของการสื่อสาร การสื่อสารที่เป็นภาษา (Verbal Communication) การสื่อสารที่ไม่เป็นภาษา (Nonverbal Communication)
การสื่อสารที่แสดงออกทางพฤติกรรม 1. การเคลื่อนไหวของร่างกาย (Kinesic Behavior) 2. ความใกล้ของสถานที่ (Proxemics) 3. ลักษณะของน้ำเสียง (Paralanguage) 4. วัตถุสิ่งของที่ใช้ (Object Language)
องค์ประกอบของการสื่อสาร ผู้ส่ง (Sender) ผู้เริ่มต้นของการเผยแพร่ข่าวสาร การใส่รหัส (Encoding) ขบวนการแปลความหมาย ข่าวสาร (Message) ผลลัพท์ที่เกิดขึ้นจากการใส่รหัส“ข่าวสารที่ส่งไปให้ผู้รับต้องอาศัย สื่อ (Medium)” ผู้รับ (Receiver) บุคคลที่ต้องการให้ข่าวสาร เปลี่ยนมือไปถึง
องค์ประกอบของการสื่อสาร การถอดรหัส (Decoding) กระบวนการแปล สัญลักษณ์ที่ได้รับให้อยู่ ในรูปของข่าวสารที่เข้าใจ สิ่งรบกวน (Noise) สิ่งที่สอดแทรก หรือ ก่อกวนในการสื่อสาร ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) สิ่งหรือข้อมูลที่เป็นผลสะท้อนกลับมา
One-Way Communication กระบวนการติดต่อสื่อสารที่ไม่เปิดช่องทาง Two- Way Communication การติดต่อสื่อสารแบบสองทาง
ปัจจัยที่มีผลต่อการสื่อสาร 1. กระบวนการรับรู้ (Perception Process) = การที่บุคคลจะรับรู้ข่าวสารต่างๆ A. การเลือกข่าวสาร (Selecting) B. การจัดข่าวสาร (Organizing) C. การแปลข่าวสาร (Interpreting)
การเลือกข่าวสาร การแปลข่าวสาร (Selecting) (Interpreting) Selection Organizing Interpreting meaning
2. การเลือกใช้คำ (Semantics) = การศึกษาความหมายของคำพูดและการเลือกใช้คำพูดที่เหมาะสม ขอบข่ายของคำ (Semantic Net) อุปสรรคการใช้คำ (Semantic Blocks)
ศิลปะในการติดต่อสื่อสาร ศิลปะการฟัง (Listening Skills) “เข้าใจ”
ศิลปะในการติดต่อสื่อสาร ศิลปะด้านข้อมูลย้อนกลับ (Feedback Skills) * เน้นพฤติกรรมหรือผลการทำงาน > การสนใจในตัวบุคคล * นำมาพัฒนาและปรับปรุงวิธีการดำเนินงาน เพื่อไม่ให้เสียลูกค้า
ปัจจัยของผู้ส่ง - รับสาร ทักษะในการสื่อสาร /communication skills ทัศนคติ / attitudes ความรู้ / knowledge สถานภาพในสังคมและวัฒนธรรม / position within a social – cultural system
ทักษะในการสื่อสาร ความสามารถในการพูด – เขียน - ฟัง – ดู – อ่าน ทักษะด้านภาษา ทักษะการคิดและใช้เหตุผล ทักษะการตีความ
ทัศนคติ ทัศนคติต่อสาร / attitude toward message ทัศนคติต่อตนเอง / attitude toward self ทัศนคติต่อสาร / attitude toward message ทัศนคติต่อผู้ส่งสาร / attitude toward source
ทัศนคติต่อตนเอง ทัศนคติที่ดี ทัศนคติที่ไม่ดี มีความมั่นใจในความรู้ความสามารถของตนเอง ไม่มีความมั่นใจในความรู้ความสามารถของตนเอง
เป็นปัจจัยหนึ่งที่สามารถเพิ่ม หรือลดประสิทธิผลของการสื่อสาร ทัศนคติต่อสาร เป็นปัจจัยหนึ่งที่สามารถเพิ่ม หรือลดประสิทธิผลของการสื่อสาร
ทัศนคติต่อคู่สื่อสาร ทัศนคติที่ดี >>>> เชื่อถือ – เลื่อมใส (source’s credibility) >>>> ชอบ - ประทับใจ (attractiveness) ทัศนคติที่ไม่ดี >>>>> เป็นปฏิปักษ์
ความรู้ของผู้ส่ง - รับสาร ความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาของสาร / knowledge of the content of the message ความรู้เรื่องกระบวนการสื่อสาร / knowledge of the communication process
ธรรมชาติของการรับสาร การฟัง – การดู – การอ่าน รับรู้ ทำความเข้าใจ คิดหาเหตุผล ตีความหมาย นำความรู้ที่ได้เทียบเคียงกับความรู้ที่มีอยู่ ตอบสนอง
ความต้องการของผู้รับสาร ต้องการข่าวสารที่มีประโยชน์ ต้องการข่าวสารที่สอดคล้องกับค่านิยม ต้องการข่าวสารที่รับได้สะดวก ความอยากรู้อยากเห็น
เหตุผลของความอยากรู้อยากเห็น เพื่อติดตามความเคลื่อนไหวและสังเกตการณ์เรื่องรอบตัว เพื่อหาข่าวสารมาเป็นเครื่องช่วยในการตัดสินใจ เพื่อใช้ข่าวสารเป็นประโยชน์ในการถกเถียงประจำวัน เพื่อสร้างความรู้สึกว่าได้ร่วมอยู่ในเหตุการณ์ เสริมความคิดเห็นที่มีอยู่เดิมให้มั่นคงยิ่งขึ้น เพื่อความบันเทิง