ทฤษฎีทางจริยธรรม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักการตลาด บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภค.
Advertisements

รายวิชา จิตวิทยาความรุนแรงและความก้าวร้าวในสังคม
ทฤษฎีพัฒนาการของ Piaget (Piaget’s Theory of Cognitive Development)
(Individual and Organizational)
Personality Development
บุคลิกภาพกับการเป็นผู้นำที่มีจิตสำนึก
Learning Organization
จิตวิทยาเด็กกระทำความผิด
“JTEPA, RCEP and Projects Cooperation” สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย The Federation of Thai Industries By Mr. Boonpeng Santiwattanatam Vice Chairman of The.
การออกแบบ DESIGN. การออกแบบ (Design) หมายถึง การถ่ายทอดรูปแบบจาก ความคิดออกมาเป็นผลงาน ที่ผู้อื่น สามารถมองเห็น รับรู้ หรือสัมผัสได้ เพื่อให้มีความเข้าใจในผลงานร่วมกัน.
ความแตกต่างส่วนบุคคลและพฤติกรรมผู้บริโภค
ตัวแบบพฤติกรรมผู้บริโภค (Model of Consumer Behavior)
กระบวนการทางจิตวิทยาและพฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมการซื้อ (Buying Behavior)
พฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม
ร่าง- แผนยุทธศาสตร์ HR นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ วันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๙.
ศึกษานิเทศน์และเจ้าหน้าที่จากองค์การแพธ
การอบรมระบบความรับผิดทางละเมิดและแพ่ง
องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร “หลักสูตรผลิตครู 5 ปี ให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง เป็นหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานวิชาการ และมาตรฐานวิชาชีพครู
การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan - IDP
พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
วิชา การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและเพิ่ม ผลผลิต (Work Development with Quality Management.
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ณ โรงแรมบางกอกพาเลส กทม.
รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
จิตวิทยาการเรียนรู้.
ส่วนประสมการตลาด ( Marketing Mix )
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา
นิเทศทัศน์ Visual communication.
การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมนุษยสัมพันธ์
ความรู้เบื้องต้นการส่งเสริมพัฒนาการและสุขภาพเด็ก
บริการด้วยใจ ห่างไกลข้อร้องเรียน
จริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics)
การแบ่งส่วนตลาด การตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ Market Segmentation, Market Targeting, and Product Positioning การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation)
บทที่ 3 ปัจจัยทางจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมมนุษย์
พฤติกรรมการซื้อ Buyer Behavior
การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคล กับ ผลประโยชน์ส่วนรวม
Techniques of Environmental Law
โดยสรุป 10 ขั้นตอนในการ implement
บริษัท โกลบัล คอนเซิร์น จำกัด 1 ธันวาคม 2553
บทที่ 3 การจัดการความเสี่ยง
สมรรถนะของข้าราชการ กลุ่มงานบริการประชาชน ด้านสุขภาพและสวัสดิการ
การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์ที่เหมาะสม สำหรับเด็กปฐมวัย
แนวทางการบริหารงานเพื่อสอดรับ กับการปรับระบบบริหารงานบุคคล
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
การแบ่งส่วนตลาดและการตลาดเป้าหมาย (Market Segmentation and Targeting)
บทที่ 6 การแบ่งส่วนตลาด การตลาด เป้าหมาย และการวางตำแหน่ง ผลิตภัณฑ์
การกำหนด STP Segmentation Target Positioning
สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา
แนวทางการจัดพื้นที่เรียนรู้สำหรับนักศึกษาพิการ ในหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยขอนแก่น Guidelines for organizing learning areas for Students with Disabilities.
ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ.2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ
หลักสูตร ครูฝึกใหม่ รุ่น 63
การแบ่งส่วนตลาด การตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ Market Segmentation, Market Targeting, and Product Positioning การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation)
By Personal Information Management
ความหมายของการจัดโครงสร้างองค์การ
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
TIM2303 การขายและการตลาด ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
ตัวแบบพฤติกรรมผู้บริโภค (Model of Consumer Behavior)
พฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavior)
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กำหนดแบบและวิธีการรายงานผลการฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
บทที่ 5 ตัวแบบพฤติกรรมผู้บริโภค
การบูรณาการข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน/อุบัติเหตุ
เปิดทัศนคติและการวิเคราะห์บุคคล และมองคนด้วยหลักจิตวิทยาและพฤติกรรมบุคคลเพื่อเสริมสร้างความสำเร็จในงาน รศ.ดร.ทองฟู ศิริวงศ์
แนวทางปฏิบัติงานของบุคลากร ที่ทำหน้าที่งบประมาณ
ตามรอยพุทธธรรม.
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
บทที่ 3.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีทางจริยธรรม

ความหมายของทฤษฎี ทฤษฎี คือ คำอธิบายที่เป็นผลสรุปจากการศึกษาพัฒนาการและพฤติกรรมของมนุษย์โดยวิธีกาทางวิทยาศาสตร์

ความสำคัญของทฤษฎี ทฤษฎีเป็นพื้นฐานแนวคิดที่ใช้อธิบายพัฒนาการของมนุษย์ในด้าน ต่าง ๆ เพื่อเป็นการนำร่องการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการพัฒนาการของมนุษย์ในแง่มุมใหม่ ๆ ความรู้จากทฤษฎีสามารถนำไปตั้งสมุติฐานเพื่อการศึกษาตรวจสอบ นับเป็นการแสวงหาความจริงที่สมารถพิสูจน์ได้และอ้างอิงได้ในทางวิทยาศาสตร์

ทฤษฎีทำให้ผู้ศึกษาทราบได้ว่าข้อมูลที่ศึกษานั้น ข้อมูลใดมีความน่าสนใจอย่างไร ข้อมูลใดเป็นจริงหรือไม่ ทฤษฎีทำให้ทราบลักษณะพัฒนาการต่าง ๆ ของมนุษย์ในแต่ละช่วงวัยต่าง ๆได้ชัดเจนยิ่งขึ้น

ความสำคัญของทฤษฎี ทฤษฎีช่วยให้ได้ข้อเท็จจริงจากการแปรข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลหรือสรุปผลข้อมูลที่ตรงประเด็นและน่าเชื่อถือมาขึ้น ทฤษฎีช่วยให้การทำนายพัฒนาการของบุคคลในแง่มุมที่ต้องการศึกษาวิจัยมีความแม่นยำยิ่งขึ้น

นักจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกันแนวคิดทางจริยธรรม จีน เพียเจต์ แนวความคิดของเขา เชื่อว่าเด็กไม่ได้เกิดมาพร้อมกับความรู้และความคิดเด็กเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมภายนอก และพัฒนาความคิดไปตามลำดับขั้นตอน ฉะนั้นพัฒนาการทางจริยธรรมย่อมเป็นไปตามลำดับขั้นและขึ้นอยู่กับวัย

ขั้นที่1 (แรกเกิด - 2  ขวบ)  เพียเจต์  เป็นนักจิตวิทยาคนแรกที่ได้ศึกษาระดับเชาวน์ปัญญาของเด็กวัยนี้ไว้อย่าง  ละเอียดจากการสังเกตบุตร 3 คน   โดยทำบันทึกไว้และสรุปว่าวัยนี้เป็นวัยที่เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม  โดยประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหวของอวัยวะ ต่างๆของร่างกาย                             ขั้นที่2 (อายุ18 เดือน - 7 ปี) เด็ก  ก่อนเข้าโรงเรียนและวัยอนุบาลมีระดับเชาวน์ปัญญาอยู่ในขั้นนี้  เด็กวัยนี้มีโครงสร้างของสติปัญญา(Structure)   ที่จะใช้สัญลักษณ์แทนวัตถุสิ่งของที่อยู่รอบๆตัว ได้  หรือ  มีพัฒนาการทางด้านภาษา เด็กวัยนี้จะเริ่มด้วยการพูดเป็นประโยคและเรียนรู้คำต่างๆเพิ่มขึ้น  เด็กจะได้รู้จักคิด อย่างไรก็ตาม  ความคิดของของเด็กวัยนี้ยังมีข้อจำกัดหลายอย่างเด็กก่อนเข้าโรงเรียนและวัย อนุบาล  มีระดับเชาวน์ปัญญาอยู่ในขั้นนี้ เด็กวัยนี้มีโครงสร้างของสติปัญญา(Structure)  ที่จะใช้สัญลักษณ์แทนวัตถุสิ่งของที่อยู่รอบๆตัวได้  หรือมีพัฒนาการทางด้านภาษาเด็กวัยนี้จะเริ่มด้วยการ พูดเป็นประโยคและเรียนรู้คำต่างๆเพิ่มขึ้นเด็กจะได้รู้จักคิด  อย่างไรก็ตามความคิดของของเด็กวัยนี้ยังมีข้อจำกัดหลายอย่าง 

ขั้นที่3 (อายุ 7 - 11 ปี) พัฒนาการทางด้านสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี้แตกต่างกันกับเด็กในขั้น  Preperational มาก   เด็กวัยนี้จะสามารถสร้างกฎเกณฑ์และตั้งกฎเกณฑ์ในการ  แบ่งสิ่งแวดล้อมออกเป็นหมวดหมู่ได้ คือ  เด็กจะสามารถที่จะอ้างอิงด้วยเหตุผลและไม่ขึ้นกับการรับรู้จากรูปร่างเท่า  นั้นเด็กวัยนี้สามารถแบ่งกลุ่ม โดยใช้เกณฑ์หลายๆอย่าง และคิดย้อนกลับ  (Reversibility) ได้  ความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมและ ความสัมพันธ์ของตัวเลขก็เพิ่มมากขึ้น   ขั้นที่4  (อายุ 12 ปีขึ้นไป)  ในขั้นนี้พัฒนาการเชาวน์ปัญญาและความคิดเห็นของเด็กเป็นขั้นสุดยอดคือ  เด็กในวัยนี้จะเริ่มคิดเป็นผู้ใหญ่  ความคิดแบบเด็กสิ้นสุดลง  เด็กสามารถที่จะคิดหาเหตุผลนอกเหนือไปจากข้อมูลที่มีอยู่  สามารถที่จะคิดเป็นนักวิทยาศาสตร์   สามารถที่จะตั้งสมมุติฐานและทฤษฎีและเห็นว่าความจริงที่เห็นด้วยกับการรับ  รู้ไม่สำคัญเท่ากับการคิดถึงสิ่งที่อาจเป็นไปได้ (Possibility) เพียเจต์ได้สรุปว่า"เด็กวัยนี้เป็นผู้ที่คิดเหนือไป  กว่าสิ่งปัจจุบันสนใจที่จะสร้างทฤษฎีเกี่ยวกับ ทุกสิ่งทุกอย่าง  และมีความพอใจที่จะคิดพิจารณาเกี่ยวกับกับสิ่งที่ไม่มีตัวตนหรือสิ่งที่เป็นนามธรรม

อัลเบิร์ต แบนดูรา (Abert Bandura) แนวความคิดของเขา เชื่อว่าการเรียนรู้ส่วนใหญ่ของคนเกิดขึ้นจากการสังเกต จากตัวแบบ ซึ่งสามารถที่จะถ่ายทอดทั้งความคิดและการแสดงออกได้พร้อม ๆ กัน ตัวแบบที่เสนอผ่านสื่อ ต่าง ๆ โทรทัศน์ การ์ตูน หรือ นวนิยาย

คุณลักษณะที่เป็นพฤติกรรมทางด้านสังคมและจริยธรรม ขั้นตอนของ พัฒนาการ การ ปรับเปลี่ยน พฤติกรรม สาเหตุ การเรียนรู้จากผลการ ตอบสนอง (Learning by response consequences) การเรียนรู้จากตัวแบบ (Learning through modeling) ขั้นตั้งใจ ขั้นจดจำ ขั้นการสร้างพฤติกรรมทาง อวัยวะการเคลื่อนไหว ขั้นจูงใจ แผนภาพ แนวคิดของแบนดูรา (Albert Bandura) 10

สาระสำคัญ แนวคิดพื้นฐาน 1. บันดูรามีทัศนะว่า พฤติกรรม (behavior หรือ B) ของมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับ ปัจจัยหลักอีก 2 ปัจจัย คือ 1) ปัจจัยทางปัญญาและปัจจัยส่วนบุคคลอื่น ๆ ( Personal Factor ) 2) อิทธิพลของสภาพ แวดล้อม ( Environmental Influences ) 2. บันดูราได้ให้ความแตกต่างระหว่างการเรียนรู้ (Learning) กับการกระทำ (Performance)ซึ่งสำคัญมาก เพราะคนเราอาจจะเรียนรู้อะไรหลายอย่างแต่ไม่ จำเป็นต้องแสดงออกทุกอย่าง เช่น เราอาจจะเรียนรูวิ้ธีการ ทุจริตในการสอบว่าต้องทำอย่างไรบ้าง แต่ถึงเวลาสอบจริงเราอาจจะไม่ทุจริตก็ได้ หรือเราเรียนรู้ว่าการพูดจาและแสดงกริยาอ่อนหวาน กับพ่อแม่เป็นสิ่งดีแต่เราอาจจะไม่เคยทำกริยาดังกล่าวเลยก็ได้

3. บันดูราเชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ส่วนมากเป็นการเรียนรู้โดยการสังเกต (Observational Learning) หรือการเลียนแบบจากตัวแบบ(Modeling) สำหรับตัวแบบไม่จำเป็นต้องเป็นตัวแบบที่มีชีวิตเท่านั้น แต่อาจจะเป็นตัวแบบสัญลักษณ์ เช่น ตัวแบบที่เห็นในโทรทัศน์ ภาพยนตร์ เกมส์คอมพิวเตอร์ หรืออาจจะเป็นรูปภาพ การ์ตูน หนังสือ นอกจากนี้ คำาบอกเล่าด้วยคำาพูดหรือข้อมูลที่เขียนเป็นลายลักษณ์-อักษรก็เป็นตัวแบบได้

ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมันด์ ฟรอยด์ Sigmund Freud แนวความคิดของเขา เชื่อว่าพฤติกรรมของบุคคลมีผลสะท้อนมาจากพฤติกรรมทางเพศ ความต้องการทางร่างกายเป็นความต้องการตามธรรมชาติของคน ซึ่งทัดเทียมกันสัตว์ประเภทอื่น ๆ ความต้องการนี้เป็นพลังที่ทำให้คนเราแสวงหาความสุขความพอใจจากส่วนต่าง ๆของร่างกายที่แตกต่างไปตามวัย และมีการพัฒนาเป็นขั้นตอนตามลำดับ เริ่มตั้งแต่เกิดจนสิ้นสุดในวัยรุ่น

อิด (Id) คือพลังที่แสวงหาความพึงพอใจความอยากได้ เช่น การอยากได้สิ่งของก็พยามยื้อแย่งเอามาให้ได้ด้วยกำลัง อีโก้ (Ego) คือพลังแห่งการใช้เหตุผลตามข้อเท็จจริง เช่น การอยากได้สิ่งขอแต่พยามใช้ความคิด สติปัญญาแทนการใช้กำลัง อาจเป็นการวางแผน หรือใช่เล่ห์เหลี่ยมนานาประการ ซูเปอร์อีโก้ (Super Ego) คือพลังที่เป็นตัวควบคุมทั้ง อิดและอีโก้ให้บุคคลแสดงพฤติกรรมอยู่ในกรอบของสังคมที่สอดคล้องกับขนธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของสังคมทำให้เป็นผู้ที่มีบุคลิกภาพดี เป็นบุคคลที่พึงประสงค์ของสังคม

ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก (Lawrence Kohlberg)

คุณลักษณะที่เป็นพฤติกรรมทางด้านสังคมและจริยธรรม แผนภาพ แนวคิดของทฤษฎีต้นไม้จริยธรรม 18

คุณลักษณะที่เป็นพฤติกรรมทางด้านอารมณ์และบุคลิกภาพ ความเชื่อ (Beliefs) เจตคติ (Attitudes) คุณค่าหรือค่านิยม (Value) บุคลิกภาพ (Personality) แนวคิดการจัดจำแนกความรู้สึกตามลำดับของไอแซงค์ 19

การนำแนวคิดและทฤฎีทางจริยธรรมไปใช้ประโยชน์ เข้าใจพฤติกรรมพื้นฐานของมนุษย์ ตลอดจนสาเหตุหรือแรงจูงใจในการแสดงพฤติกรรมของมนุษย์ เข้าใจลักษณะของพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของคนและเข้าใจความแตกต่างของแต่ละบุคคลและอิทธิพลทำให้เกิดความแตกต่างของคุณธรรม จริยธรรม ศีลธรรม และค่านิยม เข้าใจพฤติกรรมของสังคมที่มีความเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา เข้าใจการเบี่ยงเบนไปจากปกติ เข้าใจหลักจิตวิทยา และหลักจริยธรรม