ENGINEERING METALLURGY Industrial engineering (Ptwit)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมดุลเคมี.
Advertisements

สัญลักษณ์บน P&ID (Instrument Signal)
1 การขอใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพวิศวกรรม การขอใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพวิศวกรรม  เกณฑ์ กว เดิม นศ. ก่อนรุ่น 2546  เกณฑ์สภาวิศวกร นศ. รุ่น 2546 เป็นต้นไป.
8.4 Stoke’s Theorem.
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
เกณฑ์ กว เดิม นศ. ก่อนรุ่น 2546 เกณฑ์สภาวิศวกร นศ. รุ่น 2546 เป็นต้นไป
A blast furnace CO, CO2 Ore (Fe2O3, SiO2, P, Al, Mn), limestone, coke
สารที่เข้ากันไม่ได้.
IDEAL TRANSFORMERS.
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
โมเลกุล เซลล์ และ ออร์กาเนลล์ (Molecules Cells and Organelles)
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
Preventive Pollution Control4 Mass and Water Balance
เป็นสื่อประกอบการสอน ทำให้นักศึกษาเข้าใจ กระบวนวิชาพลศาสตร์กระบวนการและการ ควบคุมมากยิ่งขึ้น และยังเป็นการสร้างโปรแกรม ดังกล่าวขึ้นเป็นครั้งแรก ในวิช่วลเบสิค.
โปรแกรมพลศาสตร์กระบวนการอันดับที่หนึ่ง
สัปดาห์ที่๑๓ โลหะวิทยา.
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
Assignment เหล็กโครงสร้างรูปพรรณ
ว เคมีพื้นฐาน ตารางธาตุ
Chemical Industrial Process, Chemeng, KKU, Mm.Thabuot CIP บทบาทของวิศวกรเคมี
บทบาทของวิศวกรเคมี Lecture1_intro_ Chemical Industrial Process, Chemeng, KKU, Mm.Thabuot CIP 1.
รายการสร้างสังคม คืออะไร ?. เป้าหมายรายการ เพื่อเปลี่ยนแปลงสังคมไปสู่ สิ่งที่ดี สร้างเสริมคุณธรรมจริยธรรม สร้างเสริมสติปัญญา วิธีคิด และ ทักษะการใช้ชีวิต.
ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive Element)
ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry.
แผนภาพ Pourbaix ตั้งชื่อตามผู้คิดค้นคือ Prof. Macel Pourbaix
Introduction to Electrochemistry
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
Water and Water Activity I
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2561
บท 6.
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2561
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2560
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
Physics4 s32204 ElectroMagnetic
สมดุลเคมี (Chemical Equilibrium)
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2561
แบบจำลองแหล่งแร่( Mineral Deposit Model )
การจำแนกสาร ครูปฏิการ นาครอด.
(Introduction to Soil Science)
ดร. อุษารัตน์ รัตนคำนวณ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Periodic Atomic Properties of the Elements
ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่ 76/2560 เรื่อง กำหนดมาตรฐานทั่วไปในการระบาย น้ำเสียลงสู่ระบบบำบัดน้ำเสียส่วนกลางในนิคมอุตสาหกรรม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
การกำหนดหลักเกณฑ์ในการจัดทำข้อมูลพื้นฐาน
ชั่วโมงที่ 6–7 พันธะไอออนิก และพันธะโคเวเลนต์
Soil Fertility and Plant Nutrition
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
/ Soil Fertility and Plant Nutrition
ศึกษาเพิ่มเติมได้จากเว็บไซด์นี้...
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
PRE 103 Production Technology
คำขอแก้ไขรายการขึ้นทะเบียน
สารละลายกรด-เบส.
คำขอแก้ไขรายการขึ้นทะเบียน
122351/ Soil Fertility and Plant Nutrition
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
บทที่ 1 เรื่องไฟฟ้า สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน โดย
หน่วยที่ 5 เหล็กหล่อและโลหะนอกกลุ่มเหล็ก
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 16 ธ.ค.58
การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของโครงการ
เอกสารการสอนรายวิชา Introduction to Robotics Yr60T2 (ผศ. ดร
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2562
นิยาม แรงลอยตัว คือ ผลต่างของแรงที่มาดันวัตถุ
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
“ ทิศทางการขับเคลื่อนงานกองทุน
วัน เวลา และห้องสอบ เวลาสอบวันอังคารที่ 30 เมษายน 2562 เวลา 8.00 – สอบที่อาคารคณะนิติศาสตร์ (ห้อง 1401 และ 1404) ที่ปกสมุดคำตอบทุกเล่ม ต้องเขียนsection.
Introduction to Public Administration Research Method
การจำลองความล้นเกินของงาน
ประมวลภาพงานวันป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๕๗ รำลึกครบรอบ ๑๐ ปี สึนามิ เหตุการณ์ธรณีพิบัติภัยสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ อนุสรณ์สถานสึนามิบ้านน้ำเค็ม.
World window.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ENGINEERING METALLURGY Industrial engineering (Ptwit) 2064317 โลหะวิทยาวิศวกรรม ENGINEERING METALLURGY อาจารย์สุเนตร มูลทา Industrial engineering (Ptwit) www.sunetr.iepathumwan.com

เกณฑ์การให้คะแนน

Introduction to Engineering Metallurgy Engineering Metallurgy บทที่ 1 Introduction to Engineering Metallurgy 2064317 Engineering Metallurgy Lecturer: M_Sunetr

1. กระบวนการผลิต 2. คุณสมบัติของวัสดุ 3. การใช้งาน What’s cause this ship to fracture ? 1. กระบวนการผลิต 2. คุณสมบัติของวัสดุ 3. การใช้งาน

Introduction to Engineering Metallurgy วิชาโลหะวิทยา เป็นวิชาที่ว่าด้วย กระบวนการผลิต โลหะ ตั้งแต่การถลุง กระบวนการอบชุบ ตลอดจนความเสียหาย ที่เกิดขึ้นกับโลหะหลังจากใช้งานแล้ว โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้เราทราบสาเหตุของความ เสียหายและทราบข้อมูลที่จำเป็นต่อการปรับปรุงระบวนการผลิต ให้ดียิ่งขึ้น

กระบวนการผลิตแร่โลหะ - แร่โลหะเหล็ก - แร่โลหะนอกกลุ่มเหล็ก เช่น - ดีบุก (Tin) - ตะกั่ว (Lead) - ทองแดง (Copper) - อลูมิเนียม (Aluminium) - แมกนีเซียม (Magnesium)

แร่โลหะเหล็ก 1. การแต่งแร่ คือ การแปรสภาพสินแร่ให้ได้ขนาดและคุณสมบัติที่เหมาะสมต่อการถลุง เริ่มด้วย การบดแร่ให้ละเอียดเพื่อแยกเหล็กจากมลทิน จากนั้น จะทำการแยกแร่ด้วยวิธีต่างๆ ดังนี้ - แยกโดยอาศัยความถ่วงเฉพาะที่ต่างกัน (Float) - แยกด้วยแม่เหล็ก (Magnetic separation) ซึ่งแร่ที่ได้จะละเอียดเกินไป ต้องทำให้เป็นก้อน (Agglomeration) ดังรูปที่ 1 ก่อนป้อนเข้าเตาถลุง เพื่อความสะดวกในการลำเลียง

- Magnetite (Fe3O4) จะมีเหล็กอยู่ประมาณ 70% แร่ที่เป็นวัตถุดิบในการผลิตเหล็กมักจะอยู่ในรูปของ ออกไซด์, คาร์บอเนต, ซิลิเกต และ ซัลไฟด์ มีคุณสมบัติแม่เหล็ก ได้แก่ - Magnetite (Fe3O4) จะมีเหล็กอยู่ประมาณ 70% - Hematite (Fe3O3) จะมีเหล็กอยู่ประมาณ 70% - Siderite (FeCO3) จะมีเหล็กอยู่ประมาณ 60% - Pyrite (FeS2) จะมีเหล็กอยู่ประมาณ 45% - Limonite (HFeO2) จะมีเหล็กอยู่ประมาณ 35% Magnetite Hematite Pyrite Siderite Limonite

2. การถลุงเหล็ก คือ การแปรสภาพแร่เหล็กให้มีความบริสุทธิ์เพิ่มขึ้น (%เหล็กเพิ่มขึ้น) โดยการขจัดสิ่งเจือปนต่างๆออกจากแร่เหล็ก - จะทำในเตาถลุงที่มีอุณหภูมิสูง เรียกว่า “Blast furnace” ที่ทำขึ้นจากเหล็กกล้า และหุ้มด้วยอิฐทนความร้อนสูง โดยบริเวณด้านล่างจะมีช่องให้อากาศไหลเข้า - เชื้อเพลิงที่ใช้ในกระบวนการนี้คือ ถ่านหิน - จะมีการใช้ flux คือ หินปูน CaO หรือ CaCO3 ในการคลุมผิวหน้าน้ำเหล็ก และเพื่อไล่แกส

เหล็กดิบเหลวที่ได้จะมีปริมาณธาตุ เจือปนดังนี้ •คาร์บอน∼3.5% •ซิลิกอน ∼2%, •แมงกานีส ∼1.5%, •ซัลเฟอร์∼1% •ฟอสฟอรัส ∼1%

3. การหลอมและการปรุงส่วนผสม และ การหลอมเหล็ก คือ การให้ความร้อนแก่ เหล็กถลุง (Pig iron) เหล็กพรุน หรือเศษเหล็ก ทำให้เหล็กหลอมเหลวที่อุณหภูมิประมาณ 1600°C ในเตาหลอมที่มีหลายแบบ - มีการใส่ ปูนขาว ที่ช่องด้านบนของเตา เพื่อปรับปรุงส่วนผสม เพื่อให้เกิดกระบวนการ “Oxidation” จะทำให้เหล็กมีความบริสุทธิ์เพิ่มมากยิ่งขึ้น คือประมาณ 90%Fe - สำหรับเหล็กหล่อ จะทำในเตาที่เรียกว่า “Cupola”

เตาหลอม:Furnace 1. The basic open-hearth furnace เป็นเตาที่นิยมใช้ในการผลิตเหล็กกล้าคาร์บอนธรรมดา •เตาจะมีลักษณะอ่างตื้น หลังคาต่ำ เวลาเผาจะวางเศษเหล็กที่ก้นอ่างแล้วเผาโดยใช้เปลวไฟเผาจากด้านบนให้หลอมที่ละข้าง

2. The Basic oxygen furnace เป็นเตาที่มีประสิทธิภาพสูง

3. The electric arc furnace • เป็นเตาที่ใช้ไฟฟ้าโดยมีอิเลคโตรดเหนี่ยวนำให้โลหะหลอมเหลวโดย “Radiation” •นิยมใช้ในการผลิตเหล็กกล้าผสมสูง เหล็กกล้าเครื่องมือ เหล็กกล้าไร้สนิม เป็นต้น •เตามีลักษณะเป็นเหล็กกล้าทรงกลมหุ้มด้านในด้วยอิฐทนไฟ สามารถเอียงเพื่อที่จะเทน้ำโลหะได้

แร่โลหะนอกกลุ่มเหล็ก 1. ดีบุก (Tin) Cassiterite แร่ที่ใช้ผลิตดีบุก คือ Cassiterite, SnO3 พบมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เราเพียงล้างแร่ SnO3 ที่มีลักษณะเป็นผงด้วยน้ำ ก็จะได้แร่ SnO3 ที่สะอาด และสามารถนำไปถลุงที่อุณหภูมิประมาณ 1200°C เพื่อกำจัดคาร์บอน จากนั้นจึงทำการแยกดีบุกออกจากสิ่งสกปรกอื่นๆ อีกด้วยการหลอมที่อุณหภูมิต่ำ ในอ่างที่มีความชัน เพื่อแยกดีบุกที่มีจุดหลอมเหลวต่ำออกจากสารที่มีจุดลอมเหลว สูงกว่าได้ - จากนั้นจึงทำการหลอมอีกครั้งที่อุณหภูมิสูงและกวนเพื่อให้สารที่มีความไวต่ออกซิ เจนทำปฏิกิริยาและลอยขึ้นมา (ดีบุกมีค่า affinity ต่ำจึงรวมกับออกซิเจนได้ยาก) หลังจากกระบวนการนี้ เราจะได้ดีบุกที่มีความบริสุทธิ์ถึง 99%

2. ตะกั่ว (Lead) - แร่ที่นำมาถลุง คือ Galena, (PbS) พบมากในอเมริกา, ออสเตรเลีย, สเปน, เมกซิโก และเยอรมันนี - กระบวนการผลิตโดยการเพิ่มความเข้มข้นของตะกั่วในแร่ และนำมาเผาเพื่อให้เกิดออกไซด์ (เพื่อแยก Pb ออกจาก PbS) และจะมีสารมลทิน เช่น FeS2 อยู่ด้วย - จากนั้นทำการลดคาร์บอน และเผาใน blast furnace ที่อุณหภูมิ900°C - จากนั้นทำให้มีความบริสุทธิ์สูงขึ้นด้วยการเผาในอากาศที่ 400°C และกวนเพื่อให้ออกไซด์ต่างๆ ลอยขึ้นมาที่ผิวด้านบน และทำการแยกแร่เงินออก

3. ทองแดง (Copper) - แร่ที่นิยมนำมาถลุง คือ copper sulphide, Cu2S ซึ่งมักจะมีสารมลทินคือ FeS2 บนอยู่อนข้างมาก - เราจึงต้องแยกเหล็กออกด้วยการเผา (Roasting), กระบวนการ oxidation ตามด้วยการใช้ flux - ทองแดงเหลวจะถูกทำให้บริสุทธิ์เพิ่มขึ้นด้วยการเติมไม้เนื้อแข็งลงไป เพื่อกำจัดกาซออกซิเจน มิเช่นนั้นแล้วโลหะทองแดงจะเปราะเนื่องจากการเกิด Cu2O ทองแดงที่ได้จะเรียกว่า “Tough-pitch copper” - ส่วนโลหะทองแดงที่ต้องการความบริสุทธิ์สูง เช่นงานด้านไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ จะใช้อีกวิธีการหนึ่งคือการใช้วิธีทางเคมีไฟฟ้า ดังรูปที่ 5

4. อลูมิเนียม (Aluminium) - แร่ที่นิยมนำมาถลุง เรียกว่า Bauxite (Hydrated aluminiumoxide, Al2O3) ที่พบมากใน อเมริกาเหนือ, จาไมก้า, ยุโรปและ รัสเซีย - กระบวนการทางเคมีในการแยกอลูมิเนียอออกไซด์เรียกว่า “Bayer process” โดยการละลายออกไซด์ใน กรดคอสติก ภายใต้ความดัน และอุณหภูมิ จะได้ Pure aluminiumoxide มีความบริสุทธิ์ประมาณ 99.4% - จากนั้นจะทำการหลอม และผ่านกระบวนการไฟฟ้าเคมีเพื่อดึง อะตอมของธาตุอลูมิเนียมมารวมกัน เรียกว่า “Hall Process” ดังรูปที่ 6 อลูมิเนียมที่ได้จากกระบวนการนี้จะมีความบริสุทธิ์ 99.5-99.9percent aluminium

5. แมกนีเซียม (Magnesium) - แร่ที่นิยมนำมาเป็นวัตถุดิบ คือ magnesite(MgCO3), dolomite (MgCO3), brucite(MgO.H2O), carnallite(MgCl2.KCl.6H2O) และน้ำทะเล - นิยมใช้กระบวนการ Dow chemical electrolytic process โดยใช้ คลอไรด์ เป็นอิเลคโตรไลท์ และใช้คลอรีนเป็นขั้วบวก จะได้แมกนีเซียมบริสุทธิ์ 99.9% - วิธี Elektronprocess เริ่มด้วยการบดผง คือ magnesite(MgCO3) หรือ dolomite (MgCO3) ให้เป็นผง และทำให้อยู่ในรูป magnesia บดละเอียดอีกครั้ง และทำให้เป็น anhydrous magnesium chloride แล้วจึงเผาแยกได้แมกนีเซียม และคลอรีน

Summary กรรมวิธีในการผลิตแร่โลหะ - แต่งแร่ โดยใช้หลักการความถ่วงจำเพาะ , แม่เหล็ก - บดละเอียด - ทำให้บริสุทธิ์โดยการหลอม เติม Flux - ไฟฟ้าเคมี เตาหลอมที่ใช้ในการหลอม - The open-hearth furnace - The basic oxygen furnace - The electric arc furnace