งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แบบจำลองแหล่งแร่( Mineral Deposit Model )

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แบบจำลองแหล่งแร่( Mineral Deposit Model )"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แบบจำลองแหล่งแร่( Mineral Deposit Model )
แหล่งแร่ที่สัมพันธ์ตะกอนกับหินตะกอนและ แหล่งแร่ที่สัมพันธ์กับหินแปร

2 แหล่งแร่ที่เกิดสัมพันธ์กับตะกอนหรือหินตะกอน
1.แหล่งแร่อันเป็นผลมาจากการผุพัง - แหล่งแร่ศิลาแลง - แหล่งแร่เกรอะกรังและแหล่งสมบูรณ์ยิ่งยวด 2. แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนเม็ด - แหล่งแร่ที่เกิดกับตะกอนเม็ดหรือตะกอนเนื้อประสม-ไม่แข็งตัว - แหล่งแร่ทองแดงในชั้นตะกอนแดง - แหล่งแร่ตะกั่วกับหินทราย - แหล่งแร่ทองแดงในแอ่งทะเลตื้น - แหล่งแร่ตะกั่ว สังกะสีตะกอนพ่น 3.แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนเคมี 4. แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนคาร์บอเนต แหล่งแร่ที่สัมพันธ์กับหินแปร

3 แหล่งแร่ที่เกิดสัมพันธ์กับตะกอนหรือหินตะกอน
1.แหล่งแร่อันเป็นผลมาจากการผุพัง - แหล่งแร่ศิลาแลง - แหล่งแร่เกรอะกรังและแหล่งสมบูรณ์ยิ่งยวด 2. แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนเม็ด - แหล่งแร่ที่เกิดกับตะกอนเม็ดหรือตะกอนเนื้อประสม-ไม่แข็งตัว - แหล่งแร่ทองแดงในชั้นตะกอนแดง - แหล่งแร่ตะกั่วกับหินทราย - แหล่งแร่ทองแดงในแอ่งทะเลตื้น - แหล่งแร่ตะกั่ว สังกะสีตะกอนพ่น 3.แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนเคมี 4. แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนคาร์บอเนต แหล่งแร่ที่สัมพันธ์กับหินแปร

4 แหล่งแร่ศิลาแลง (laterite-type deposit)
ส่วนประกอบที่สำคัญ - แร่ที่ทนต่อการผุพังของหินต้นกำเนิด -ผลิตผลจากสารละลายที่ไม่ผสมกันได้ -แร่เกิดใหม่ แหล่งแร่ศิลาแลงที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ -ศิลาแลงอะลูมินัม -ศิลาแลงนิเกิ้ล -ชั้นศิลาแลงแข็ง -ศิลาแลงเหล็กและแมงกานีส

5 1 2 (www.dupla.com/e037.htm) (http//technology.infomine.com)
1) Tropical landscape with laterite ground 2) Typical laterite quarry of crumbly earth ( Iron Oxides Developed in Soil (Permafrost) over Gossan, Windy Craggy Area, Northwestern BC (http//technology.infomine.com)

6 (http//technology.infomine.com)
Weathering and Acid Rock Generation/Drainage Formation of Mineral Deposits and Their Impact Upon the Geochemistry of the Environment (http//technology.infomine.com)

7 (http//technology.infomine.com)
Formation of mineral zones derived from hypogene material (http//technology.infomine.com)

8 การกระจายตัวของแหล่งบ็อกไซต์ศิลาแลงและแมงกานีสที่สำคัญของโลก
(Edwards and Atkinson, 1986)

9 แหล่งแร่ที่เกิดสัมพันธ์กับตะกอนหรือหินตะกอน
1.แหล่งแร่อันเป็นผลมาจากการผุพัง - แหล่งแร่ศิลาแลง - แหล่งแร่เกรอะกรังและแหล่งสมบูรณ์ยิ่งยวด 2. แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนเม็ด - แหล่งแร่ที่เกิดกับตะกอนเม็ดหรือตะกอนเนื้อประสม-ไม่แข็งตัว - แหล่งแร่ทองแดงในชั้นตะกอนแดง - แหล่งแร่ตะกั่วกับหินทราย - แหล่งแร่ทองแดงในแอ่งทะเลตื้น - แหล่งแร่ตะกั่ว สังกะสีตะกอนพ่น 3.แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนเคมี 4. แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนคาร์บอเนต แหล่งแร่ที่สัมพันธ์กับหินแปร

10 ผืนแร่เกรอะกรังที่สำคัญมี 3 ชนิด -Indigeneous (อยู่กับที่)
แหล่งแร่เกรอะกรังและแหล่งสมบูรณ์ยิ่งยวด(Gossan and Supergene Enrichment Deposits) ผืนแร่เกรอะกรังที่สำคัญมี 3 ชนิด -Indigeneous (อยู่กับที่) Transported (พัดพามา) Exotic (แปลกปลอมเข้ามา) แผนภาพแสดงการชะล้างและการสะสมตัว เพิ่มพูนของสายแร่ที่มีทองแดงซัลไฟด์ (http//technology.infomine.com)

11 แหล่งแร่ที่เกิดสัมพันธ์กับตะกอนหรือหินตะกอน
1.แหล่งแร่อันเป็นผลมาจากการผุพัง - แหล่งแร่ศิลาแลง - แหล่งแร่เกรอะกรังและแหล่งสมบูรณ์ยิ่งยวด 2. แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนเม็ด - แหล่งแร่ที่เกิดกับตะกอนเม็ดหรือตะกอนเนื้อประสม-ไม่แข็งตัว - แหล่งแร่ทองแดงในชั้นตะกอนแดง - แหล่งแร่ตะกั่วกับหินทราย - แหล่งแร่ทองแดงในแอ่งทะเลตื้น - แหล่งแร่ตะกั่ว สังกะสีตะกอนพ่น 3.แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนเคมี 4. แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนคาร์บอเนต แหล่งแร่ที่สัมพันธ์กับหินแปร

12 แหล่งแร่ที่เกิดกับตะกอนเม็ดหรือตะกอนเนื้อประสม-ไม่แข็งตัว
ในการสะสมตัวเป็นลานแร่ มีสิ่งสำคัญที่สัมพันธ์กัน ที่ควรคำนึงถึง 1.แหล่งกำเนิดของแร่หนัก ซึ่งมักเป็นแร่ปฐมภูมิหรืออาจเป็นแร่ทุติยภูมิ 2.การผุกร่อนไปสู่ลานแร่จากหินกำเนิด 3.การสะสมตัวของแร่ มักจะสะสมตัวเป็นชั้นอยู่เหนือพื้นหุบเขา 4.เมื่อแร่ที่สนใจเกิดการสะสมตัวในลานแร่จำเป็นต้องมีการป้องกันไม่ให้เกิด การกัดกร่อนผุพัง

13 สมบัติทางกายภาพและสภาพแวดล้อมที่สำคัญของแร่หลายชนิดในลานแร่
การจำแนกชนิดลานแร่ (Macdonald, 1983)

14 คำที่ใช้เรียกชื่อสภาวะแวดล้อมในแอ่งตะกอนน้ำท่วมถึง
(Aleva and Westerhof, 1989)

15 -แนวทางการสำรวจในการสำรวจหาลานแร่ ต้องดูว่าพื้นที่ที่สำรวจนั้น
ประกอบไปด้วย ข้อพื้นฐานทั้ง 4 ข้อหรือไม่ -การศึกษาหน้าตัดแซปโปรไลท์ในพื้นที่ลาดเอียง อาจเป็นตัวกำหนดแนวทาง หรือวิธีสำรวจ -ต้องมองละเอียดถึงวิวัฒนาการของสภาพธรณีสัณฐานของระบบทางน้ำเก่า ชั้นกรวดหรือแนวกรวดที่มักสัมพันธ์กับสายแร่ควอร์ต (Aleva, 1983)

16 แหล่งแร่ที่เกิดสัมพันธ์กับตะกอนหรือหินตะกอน
1.แหล่งแร่อันเป็นผลมาจากการผุพัง - แหล่งแร่ศิลาแลง - แหล่งแร่เกรอะกรังและแหล่งสมบูรณ์ยิ่งยวด 2. แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนเม็ด - แหล่งแร่ที่เกิดกับตะกอนเม็ดหรือตะกอนเนื้อประสม-ไม่แข็งตัว - แหล่งแร่ทองแดงในชั้นตะกอนแดง - แหล่งแร่ตะกั่วกับหินทราย - แหล่งแร่ทองแดงในแอ่งทะเลตื้น - แหล่งแร่ตะกั่ว สังกะสีตะกอนพ่น 3.แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนเคมี 4. แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนคาร์บอเนต แหล่งแร่ที่สัมพันธ์กับหินแปร

17 แหล่งแร่ทองแดงในชั้นตะกอนแดง (Red-bed Copper( U,V Deposits)
กาลเวลาทางธรณีวิทยาและวิวัฒนาการของบรรยากาศ (Walker, 1977) ลักษณะเฉพาะของยูเรเนียมตามช่วงกาลเวลาทางธรณีวิทยา

18 แหล่งแร่ที่เกิดสัมพันธ์กับตะกอนหรือหินตะกอน
1.แหล่งแร่อันเป็นผลมาจากการผุพัง - แหล่งแร่ศิลาแลง - แหล่งแร่เกรอะกรังและแหล่งสมบูรณ์ยิ่งยวด 2. แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนเม็ด - แหล่งแร่ที่เกิดกับตะกอนเม็ดหรือตะกอนเนื้อประสม-ไม่แข็งตัว - แหล่งแร่ทองแดงในชั้นตะกอนแดง - แหล่งแร่ตะกั่วกับหินทราย - แหล่งแร่ทองแดงในแอ่งทะเลตื้น - แหล่งแร่ตะกั่ว สังกะสีตะกอนพ่น 3.แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนเคมี 4. แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนคาร์บอเนต แหล่งแร่ที่สัมพันธ์กับหินแปร

19 แหล่งแร่ตะกั่วในหินทราย ( Pb-(Zn-Ag)sandstone Deposits)
-คือแหล่งแร่ที่มีแร่กาลีนาฝังปะในหินทรายขุ่น ทรายสะอาดและทรายปนกรวด แหล่งแร่ตะกั่วในหินทราย มักให้แร่โดยเฉลี่ยมีความสมบูรณ์ต่ำ ขอบเขตของ แหล่งแร่กำหนดไม่แน่นอน

20 (Bjorlykke and Sangster, 1981)
1.แผนที่หินเก่าบอลติก แสดงตำแหน่งแหล่งแร่ตะกั่ว ในหินทรายเมื่อเทียบกับลักษณะภูมิศาสตร์ในอดีต 2.แผนที่ภูมิศาสตร์ในอดีตแสดงลักษณะ การวางตัวของหินทรายบันเตอร์ 3.แผนที่ธรณีวิทยาแสดงตำแหน่งที่ตั้งของเหมือง ตะกั่วมูบัด และมีเซอร์นิคในหินทราย (Bjorlykke and Sangster, 1981)

21 ภาพตัดขวางแสดงแนวการเกิดแหล่งแร่ตะกั่วในหินทรายโดยอิทธิพลของน้ำบาดาล

22 แหล่งแร่ที่เกิดสัมพันธ์กับตะกอนหรือหินตะกอน
1.แหล่งแร่อันเป็นผลมาจากการผุพัง - แหล่งแร่ศิลาแลง - แหล่งแร่เกรอะกรังและแหล่งสมบูรณ์ยิ่งยวด 2. แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนเม็ด - แหล่งแร่ที่เกิดกับตะกอนเม็ดหรือตะกอนเนื้อประสม-ไม่แข็งตัว - แหล่งแร่ทองแดงในชั้นตะกอนแดง - แหล่งแร่ตะกั่วกับหินทราย - แหล่งแร่ทองแดงในแอ่งทะเลตื้น - แหล่งแร่ตะกั่ว สังกะสีตะกอนพ่น 3.แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนเคมี 4. แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนคาร์บอเนต แหล่งแร่ที่สัมพันธ์กับหินแปร

23 แหล่งแร่ทองแดงในแอ่งทะเลตื้น(Copper Deposits of Shallow Marine Type)
แผนที่โลกแสดงตำแหน่งซัลไฟด์ตามชั้นของหินตะกอน ลำดับชั้นหินตะกอนของแหล่งแร่ซัลไฟด์ตามชั้นต่างๆตั้งแต่บริเวณขอบเขตหินเก่า เขตน้ำลึกและเขตน้ำตื้นติดทวีป

24 ลำดับหินแสดงการเกิดแหล่งแร่ทองแดงปรากฎเหนือหินฐาน มหายุคพรีแคมเบรียน
(Fleischer et al., 1976) ภาพตัดขวางส่วนของแหล่งแร่ แสดงการสะสมตัว ของแร่ทองแดงเฉพาะในส่วนล่างของหินดินดานที่ วางตัวเหนือชั้นหินควอร์ตไซต์ (Fleischer et al., 1977)

25 แหล่งแร่ที่เกิดสัมพันธ์กับตะกอนหรือหินตะกอน
1.แหล่งแร่อันเป็นผลมาจากการผุพัง - แหล่งแร่ศิลาแลง - แหล่งแร่เกรอะกรังและแหล่งสมบูรณ์ยิ่งยวด 2. แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนเม็ด - แหล่งแร่ที่เกิดกับตะกอนเม็ดหรือตะกอนเนื้อประสม-ไม่แข็งตัว - แหล่งแร่ทองแดงในชั้นตะกอนแดง - แหล่งแร่ตะกั่วกับหินทราย - แหล่งแร่ทองแดงในแอ่งทะเลตื้น - แหล่งแร่ตะกั่ว สังกะสีตะกอนพ่น 3.แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนเคมี 4. แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนคาร์บอเนต แหล่งแร่ที่สัมพันธ์กับหินแปร

26 แหล่งแร่ตะกั่ว สังกะสีตะกอนพ่น( Sedimentary-Exhalative Pb-Zn(-Cu)Deposits)
ลักษณะที่สำคัญของแหล่งแร่ -ชั้นหินส่วนใหญ่ประกอบด้วยชั้นบางๆของสินแร่ซัลไฟด์เม็ดละเอียดซึ่งวางตัว ภายในและขนานกับชั้นตะกอนที่ห้อมล้อมแร่นั้น โดยการตกตะกอนของสินแร่ ซัลไฟด์จะอยู่บนพื้นทะเล -ในบริเวณใกล้กับตัวแหล่งแร่มักแสดงลักษณะการเปลี่ยนแปลงหรือเปลี่ยนสภาพ -เห็นวงแร่ชัดเจนทั้งแนวราบและแนวดิ่ง แนวราบ Cu-Pb-Zn-Ba แนวดิ่ง Cu-Zn-Pb-Ba -ลักษณะของธรณีเคมีของไอโซโทปกำมะถัน แสดงถึงแหล่งกำเนิดจากที่ลึกของ สินแร่ตะกั่วและสังกะสี -การสะสมตัวของแร่แบไรต์ภายในชั้นตะกอน มักพบมากบริเวณส่วนปลายหรือ ส่วนที่ปิดทับด้านบน -ซิลิกาเนื้อละเอียดพบเห็นได้บ่อยในชั้นตะกอนที่มีแร่ซัลไฟด์และแร่แบไรต์

27 ภาพตัดขวางตามแนวดิ่งของแหล่งแร่ซัลไฟด์-แบไรต์
ตะกอนพ่นใต้ทะเลจนได้แนวสินแร่ต่างๆ ปรากฎเป็น วงรอบๆปล่องที่มีการแตกหัก (Large, 1980)

28 The SEDEX type includes some of the largest Zn-Pb deposits in the world.
They typically occur in drowned intracontinental rifts, that have been infilled with marine sediments with or without significant volumes of volcanic rocks. Deposits usually consist of concordant of pyrite-(sometimes pyrrhotite)-sphalerite-galena that are interbedded with host sediments and hydrothermal sediments such as chert or baritite. Examples recently studied by the Mineral Deposits Division include Sullivan, B.C., Gataga District, B.C. and Duddar, Pakistan. (

29 แหล่งแร่ที่เกิดสัมพันธ์กับตะกอนหรือหินตะกอน
1.แหล่งแร่อันเป็นผลมาจากการผุพัง - แหล่งแร่ศิลาแลง - แหล่งแร่เกรอะกรังและแหล่งสมบูรณ์ยิ่งยวด 2. แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนเม็ด - แหล่งแร่ที่เกิดกับตะกอนเม็ดหรือตะกอนเนื้อประสม-ไม่แข็งตัว - แหล่งแร่ทองแดงในชั้นตะกอนแดง - แหล่งแร่ตะกั่วกับหินทราย - แหล่งแร่ทองแดงในแอ่งทะเลตื้น - แหล่งแร่ตะกั่ว สังกะสีตะกอนพ่น 3.แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนเคมี 4. แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนคาร์บอเนต แหล่งแร่ที่สัมพันธ์กับหินแปร

30 แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนเคมี
แหล่งแร่เหล็กในหินตะกอน ความสมบูรณ์ของเหล็กโดยเฉลี่ยในเปลือกโลกประมาณ 4.7% ปรากฏได้ 2 ลักษณะ คือ หินเหล็กและชั้นสินแร่เหล็ก

31 2. แหล่งแร่แมงกานีสในหินตะกอน
ในบริเวณยุโรปตะวันออก แหล่งแร่แมงกานีสใหญ่ๆจัดได้เป็น 2 พวก - เกิดในตะกอนเนื้อประสม ซึ่งได้แก่หินทรายสลับกับหินดินดาน โดยมีแร่ ควอร์ตและกลูโคไนต์เป็นหลัก เช่นในประเทศยูเครน จอร์เจียและบัลแกเรีย มีความสมบูรณ์ประมาณ 35 % - เกิดในตะกอนคาร์บอเนต เช่นในหินปูนและโดโลไมต์ พบที่ใน รัสเซียและโมร็อกโก มีความสมบูรณ์ประมาณ 5-30%

32 แหล่งแร่ที่เกิดสัมพันธ์กับตะกอนหรือหินตะกอน
1.แหล่งแร่อันเป็นผลมาจากการผุพัง - แหล่งแร่ศิลาแลง - แหล่งแร่เกรอะกรังและแหล่งสมบูรณ์ยิ่งยวด 2. แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนเม็ด - แหล่งแร่ที่เกิดกับตะกอนเม็ดหรือตะกอนเนื้อประสม-ไม่แข็งตัว - แหล่งแร่ทองแดงในชั้นตะกอนแดง - แหล่งแร่ตะกั่วกับหินทราย - แหล่งแร่ทองแดงในแอ่งทะเลตื้น - แหล่งแร่ตะกั่ว สังกะสีตะกอนพ่น 3.แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนเคมี 4. แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนคาร์บอเนต แหล่งแร่ที่สัมพันธ์กับหินแปร

33 แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนคาร์บอเนต
แหล่งแร่ตะกั่ว-สังกะสี ในหินคาร์บอเนต เป็นชนิดหนึ่งของแหล่งแร่ประเภท ที่เกิดในหินตะกอน แบ่งย่อยได้ 2 ชนิด - Mississippi Valley-Type (MVT) Pb-Zn Deposits -Alpine-type Pb-Zn Deposits (Song Toh Deposits)

34 แบบจำลองแหล่งแร่ Mississippi Valley-Type (MVT) Pb-Zn Deposits
(

35 แบบจำลองแหล่งแร่ Alpine-type Pb-Zn Deposits (Song Toh Deposits)
(Yimyai, 1988)

36 แหล่งแร่ที่เกิดสัมพันธ์กับตะกอนหรือหินตะกอน
1.แหล่งแร่อันเป็นผลมาจากการผุพัง - แหล่งแร่ศิลาแลง - แหล่งแร่เกรอะกรังและแหล่งสมบูรณ์ยิ่งยวด 2. แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนเม็ด - แหล่งแร่ที่เกิดกับตะกอนเม็ดหรือตะกอนเนื้อประสม-ไม่แข็งตัว - แหล่งแร่ทองแดงในชั้นตะกอนแดง - แหล่งแร่ตะกั่วกับหินทราย - แหล่งแร่ทองแดงในแอ่งทะเลตื้น - แหล่งแร่ตะกั่ว สังกะสีตะกอนพ่น 3.แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนเคมี 4. แหล่งแร่ที่เกิดร่วมกับตะกอนคาร์บอเนต แหล่งแร่ที่สัมพันธ์กับหินแปร

37 แหล่งแร่ที่สัมพันธ์กับหินแปร
ในการศึกษาแหล่งแร่ที่สัมพันธ์กับหินแปร มีค่าทางการแปรสภาพหินที่สำคัญ 3 อย่าง 1.การแปรสภาพลำดับส่วน (Metamorphic differentiation) 2.การแปรสภาพผนวก (Metamorphic convergence) 3.การแปรสภาพกระจาย (Metamorphic diffusion) การแปรขั้นสูงถึงขั้นปานกลางแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม -แหล่งแร่ถูกแปรสภาพ (metamorphosed deposits) -แหล่งแร่จากการแปรสภาพ (metamorphogenic deposits) -แหล่งแร่ผสมการแปรสภาพ (metamorphogenic deposits)

38 แหล่งแร่ VMS ที่ปราศจากการแปรสภาพ
เหมือง Flin Flon ( Canada) ถูกแปรสภาพไป (Sangster, 1972)

39 ภาพแสดงแนวแรงเค้น เมื่อน้ำหินแปร จากหินปริมาณมหาศาล ณ ระดับลึก
เคลื่อนที่สู่ระดับตื้น (Fyfe and Henley, 1973)

40 เอกสารอ้างอิง -ปัญญา จารุศิริ, 2546, คู่มือสำรวจแร่ เล่ม 3, หน้า -วิสุทธิ์ พิสุทธอานนท์, 2538, เอกสารประกอบการสอนวิชา Mineral Deposits, หน้า - - - - technology.infomine.com


ดาวน์โหลด ppt แบบจำลองแหล่งแร่( Mineral Deposit Model )

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google