การจัดองค์กรและกำหนดงานในภาวะฉุกเฉิน Slide ประกอบการบรรยาย สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในเขตอันดามัน และสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดย วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ มกราคม 2548
Education and Training Disaster planning and rehearsal. Integration of local, regional, and national resources into a disaster system. Hospital Emergency Incident Command Systems (HEICS). Communications and security. Media relations. Protection of health care delivery personnel and facilities. Detection and decontamination of biological, chemical, and radiation exposure. Triage principles and implementation. Logistics of medical evaluation, stabilization, disposition, and treatment of victims. Record-keeping and postdisaster debriefing, critique, and reporting. Critical incident stress management (CISM).
ระบบบัญชาแบบ HEICS ระบบการบังคับบัญชาและการแบ่งงานรับผิดชอบ ชัดเจน ผังการบริหารยืดหยุ่นตามสถานการณ์ความ เหมาะสม มีรายการตรวจสอบ (checklist) ตามลำดับความสำคัญ ขั้นตอนทุกอย่างมีผู้รับผิดชอบและให้คำอธิบาย และตรวจสอบได้ (accountability) คุ้มค่า (cost-effective) และเรียกต้นทุนคืน (cost recovery) ได้ง่าย ใช้ภาษาที่คนภายนอกที่มาร่วมงานเข้าใจได้ง่าย
องค์ประกอบของ HEICS Package HEICS Organization chart JOB ACTION SHEETs FORMs เสื้อกั๊กประจำตำแหน่ง (HEICS vest) Training modules
CROSS-WALK organization chart ใช้ตำแหน่งงานเดิมที่มีอยู่ทำหน้าที่ต่าง ๆ ที่ ใกล้เคียงกันในภาวะฉุกเฉิน เช่น ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเป็น Incident Commander รอง ผอ.หมายเลข 1 เป็น Liaison officer รอง ผอ. หมายเลข 3 เป็น Public Information Officer แต่ต้องระวัง!! งานในภาวะอุบัติภัยไม่เหมือนกับงาน ปรกติ ถ้าไม่ฝึกไม่เคยทำ อาจจะทำไม่เป็นหรือทำ ได้ไม่ดี, คนไม่ยอมรับ
JOB ACTION SHEET
หน้าที่โดยฉับพลันผู้บังคับบัญชาภาวะฉุกเฉิน Emergency Incident Commander ประกาศภาวะฉุกเฉิน อ่าน JOB ACTION SHEET ให้จบ สวมเสื้อกั๊กระบุตำแหน่ง แต่งตั้งหัวหน้าฝ่ายระดับบน แจก package ให้หัวหน้าฝ่าย JOB ACTION SHEET เสื้อกั๊กประจำตำแหน่ง แบบฟอร์มรายงาน แต่งตั้ง public information officer, liaison officer และ หัวหน้า ฝ่ายความมั่นคง เรียกประชุมหัวหน้าฝ่าย ต่าง ๆ ภายใน 5-10 นาที มอบหมายผู้บันทึกเรื่องราว รับรายงานจากหัวหน้า ฝ่ายสถานการณ์และ แผนงาน รับรายงานความพร้อมจาก ฝ่ายส่งกำลังบำรุง
ฝ่ายติดต่อประสานงาน (LIAISON OFFICER) รับการแต่งตั้งและ รายงานตัวต่อ ผบ. ฉุกเฉิน อ่าน Job Action Sheet ให้ จบ สวมเสื้อกั๊กประจำ ตำแหน่ง ติดต่อกับหัวหน้าฝ่าย สื่อสาร ขอรับเครื่องมือ สื่อสาร ทบทวนระบบงาน บริหารส่วนท้องถิ่นว่า ต้องติดต่อใคร ติดต่อฝ่าย ประชาสัมพันธ์ ติดต่อกับฝ่าย ประสานงาน โรงพยาบาลต่าง ๆ ให้ข่าวสารโดยตรงแก่ ผู้มีอำนาจเกี่ยวข้อง
หัวหน้าฝ่ายความมั่นคง รายงานตัวและขึ้นตรง ต่อ ผบ.ฉุกเฉิน อ่าน Job Action Sheet ให้ จบ สวมเสื้อกั๊กประจำ ตำแหน่ง ดำเนินการตาม นโยบายและแผนด้าน ความมั่นคงที่ตกลงกัน ไว้ กันผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องออก จากพื้นที่ปฏิบัติงาน จัดเจ้าหน้าที่ รปภ. ดูแล จุดล่อแหลมเป็นพิเศษ รายงานเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นที่เกี่ยวกับ ความมั่นคง จัดเจ้าหน้าที่รักษา ความปลอดภัย อาหาร น้ำ เวชภัณฑ์ และโลหิต รายงานความผิดปรกติ ทางจิตใจให้เจ้าหน้าที่ ฝ่ายจิตวิทยา
หัวหน้าฝ่ายลอจิสติก(ส่งกำลังบำรุง) ขึ้นตรงและรายงานตัว ต่อ ผบ.ฉุกเฉิน อ่าน Job Action Sheet ให้ จบ สวมเสื้อกั๊กประจำ ตำแหน่ง แต่งตั้งหัวหน้าแผนก ต่าง ๆ ได้แก่ ฝ่าย สาธารณูปโภค, แผนก เครื่องมือสื่อสาร, แผนก ยานพาหนะ, แผนก อาหารและโภชนาการ แจกจ่าย Job Action Sheet พร้อมเสื้อกั๊กสำหรับ แผนกดังกล่าว เข้าร่วมประชุมกับฝ่าย ตรวจสอบความ เสียหาย เพื่อรับทราบ ความต้องการ
หัวหน้าหน่วยสื่อสาร ขึ้นตรงและรายงานตัว ต่อหัวหน้าฝ่ายลอจิ สติก อ่าน Job Action Sheet ให้ จบ สวมเสื้อกั๊กประจำ ตำแหน่ง จัดตั้งศูนย์การสื่อสาร ใกล้กองอำนวยการ ตอบสนองคำขอของ วิทยุอาสาสมัครซึ่ง ได้รับการแต่งตั้งไว้แล้ว ตรวจสอบสภาพการใช้ งานของเครื่องมือสื่อสาร ภายในและภายนอกแล้ว รายงานความเสียหายต่อ หัวหน้าฝ่ายลอจิสติก จัดตั้งระบบวิทยุแบบ 2-ways ให้กับบุคคลและพื้นที่ตาม แผน ติดต่อกับหัวหน้าฝ่าย ประสานงาน (Liaison) ติดตามกำกับและ ตรวจสอบข้อความการ สื่อสารที่สำคัญ
แผนกอาหารและโภชนาการ รายงานตัวและขึ้นตรง กับหัวหน้าฝ่ายลอจิ สติก อ่าน Job Action Sheet ให้ จบ สวมเสื้อกั๊กประจำ ตำแหน่ง เรียกประชุมแผนกแบบ สั้น ๆ จัดระบบคงคลังของ อาหารและน้ำดื่ม ประมาณการเวลาที่ ต้องจัดหาน้ำเพิ่ม จัดปัน ส่วนน้ำเมื่อยามจำเป็น ทำรายการเป็นลาย ลักษณ์อักษรแจ้งความ ต้องการอาหารและน้ำ ต่อหัวหน้าฝ่ายลอจิ สติก ติดต่อกับฝ่ายความ มั่นคงและปลอดภัย ขอ ความช่วยเหลือเรื่อง การคุ้มครองอาหารและ น้ำ
หัวหน้าฝ่ายวางแผน รับคำสั่งและขึ้นตรงต่อ ผบ.ฉุกเฉิน รับคำสั่งและขึ้นตรงต่อ ผบ.ฉุกเฉิน อ่าน Job Action Sheet ให้ จบ สวมเสื้อกั๊กประจำ ตำแหน่ง รับฟังคำสั่งโดยย่อจาก ผบ.ฯ แต่งตั้งแผนกติดตาม สถานการณ์, แผนก กำลังคน, หัวหน้า กำลังคนฝ่ายแพทย์และ ฝ่ายพยาบาล แจก Job Action Sheet และ เสื้อกั๊กตำแหน่ง ดังกล่าว รับรายงานเหตุการณ์ ต่าง ๆ ที่เป็นลายลักษณ์ อักษรและส่งต่อไปยัง ผบ. กำหนดการประชุม แผนงานร่วมกับแผนก ต่างของตนและ ผบ.
FORMS
ถ้าจะใช้ระบบบัญชาแบบ HEICS กำหนดเวลาแผนงานการศึกษาทำความเข้าใจและซักซ้อมให้ชัดเจน ปรับแผนรับอุบัติภัยปรกติให้มี HEICS กำหนดรายละเอียดบทเรียนและกำหนดผู้สอน ต้องซักซ้อม/อบรมทุกปี มีศูนย์ตระเตรียมอุปกรณ์ จัดหาเสื้อกั๊ก (HEICS vests) และวัสดุอื่น ๆ
การปรับแผนรับอุบัติภัยเดิม กำหนดให้การบังคับบัญชาแบบ HEICS เป็น ส่วนหนึ่งของ standard operating procedure (SOP หรือ มาตรฐานการปฏิบัติงาน) สำหรับรับอุบัติภัย Job Action Sheet หรือแผ่นกิจกรรม และ แบบฟอร์มเป็นศูนย์กลางของแผนงาน มีข้อกำหนดเชิงนโยบายและเชิงขั้นตอน (policies & procedures)อื่น ๆ เป็นองค์ประกอบรอบ นอก
ตัวอย่างรายการ policies & procedures นโยบายตรวจสอบความ พร้อมของหน่วยงาน นโยบายในการประกาศเริ่ม ภาวะอุบัติภัย/หายนะ นโยบายในการประกาศการ เข้าสู่ภาวะปรกติ ขั้นตอนการระดมกำลังคน ระบบการรักษาความ ปลอดภัย แนวทางการตัดสินใจ evacuate ขั้นตอนของ evacuation นโยบายการมอบความ ไว้วางใจให้อาสาสมัคร Standing order สำหรับผู้ป่วย ทั่วไป ขั้นตอนการ discharge ผู้ป่วย ในช่วงอุบัติภัย
วิธีการจัดอบรม/ซักซ้อม Introductory lesson (1 ชม.) สำหรับพนักงานทุกคน HEICS Table-Top Exercise สำหรับระดับผู้บริหารและผู้จัดการ 2- 3 ชั่วโมง ซ้อมจำลองสถานการณ์ Continuing education สำหรับ Emergency Incident Commander และผู้บริหารระดับสูง