Chapter 4 Telecommunication Systems
From Analog to Digital
Circuit switched vs. Packet switched
Public Switched Telephone Network (PSTN) Plain Old Telephone Service (POTS)
1 สาย ได้หลาย channels 1 สาย ได้หลาย channels 1 สาย ได้หลาย channels 1:1 1 สาย ได้หลาย channels 1 สาย ได้หลาย channels 1:1 กล่องแยก กรณีมีคู่สายไม่พอสำหรับจำนวนโทรศัพท์ภายในสำนักงาน PBX มีทั้งแบบ analog (legacy PBX) และ digital (IP-PBX ใช้กับโทรศัพท์digital) IP-PBX จัดการผ่านซอฟต์แวร์ได้ง่าย เช่น ย้ายเบอร์จากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง call forwarding (มี 2 โต๊ะ)
เบอร์ภายใน (ข้าม office) มหาวิทยาลัย ถ้าไม่ออกไปถึง PSTN/POTS ก็ไม่เสียค่าใช้จ่าย รพ. จุฬาฯ
฿ ฿ ฿ ฿
แต่ละเส้นเชื่อมมี weight รองรับคู่สายได้จำกัด โครงสร้างไม่ใช่ Tree แต่เป็น Graph ผู้ให้บริการอาจจะเปิดเส้นใหม่ เพื่อลด traffic ผู้ใช้บริการต้องหาผู้ให้บริการที่ราคาถูก ตอนหลังมีบริการหาเส้นทางที่ถูกที่สุดให้ เช่น โทรหา operator ก่อน หรือบริการอัตโนมัติ ใน US ต้องวิ่งผ่านผู้ให้บริการหลายเจ้า ที่คิดราคาต่างๆ กัน เกิด shortest path algorithm
สาย Unshielded twisted pair โทรศัพท์บ้าน (analog) อีกคู่ไว้สำรอง โทรศัพท์ digital (ISDN) ใช้ทุกคู่ RJ45 RJ11 โทรศัพท์ analog และ ADSL ใช้คู่เดียว หัวต่อเป็น RJ11 ถ้าเป็น ISDN ใช้หมดทุกคู่ หัวต่อเป็น RJ45 เหมือน LAN
สาย Foiled UTP และ Shielded UTP
Private (Automatic) Branch Exchange (PABX/PBX) Terminal เป็น IP Telephone หรือ Personal Computer ก็ได้ ใช้สาย LAN ใช้กับเรื่องงานและธุรกิจมากกว่า เรื่องส่วนตัวไปใช้ social network กันหมดแล้ว
Serial Port (สมัยนั้นไม่มี USB) Modem PC Serial Port (สมัยนั้นไม่มี USB) สายโทรศัพท์บ้าน ได้ data rate สูงสุด ประมาณ 56K bit/s ส่งสัญญาณ digital ผ่านช่องสัญญาณ analog (เสียงพูด) ทีมี bandwidth แคบ (< 4 KHz)
Integrated Services Digital Network (ISDN) ต้องใช้สายพิเศษ (4 คู่) ใช้สายโทรศัพท์เดิม (1 คู่) ไม่ได้
B channel D channel Basic Rate Interface (BRI) 2 x 64 kbit/s 1 x 16 kbit/s Primary Rate Interface (PRI) 23 x 64 kbit/s 1 x 16 kbit/s (US, T1) 30 x 64 kbit/s 1 x 16 kbit/s (AUS, E1) Narrowband ISDN (N-ISDN) 64 kbit/s (ออกมาตรฐานช้า ออกมาก็ล้าสมัย data rate น้อย) Broadband ISDN (B-ISDN) > 1.5 – 2 Mbit/s (primary rate) ถูกกลืนด้วย tech อื่นๆ เช่น DSL ISDN ออกแบบมาเพื่อ circuit-switched network (ต้องโทรออกก่อน ไม่เหมาะกับ internet) Digital Subscriber Line (DSL) ออกแบบมาเพื่อ packet-switched network ISDN vs. DSL อ่าน http://www.tech-faq.com/difference-between-isdn-and-dsl.html
Baseband vs. Broadband (ISDN) Broadband = FDM แต่ถูกใช้เป็น marketing term In Baseband, data is sent as digital signals through the media as a single channel that uses the entire bandwidth of the media. Baseband communication is bi-directional, which means that the same channel can be used to send and receive signals. In Baseband, frequency-division multiplexing is not possible. Broadband sends information in the form of an analog signal. Each transmission is assigned to a portion of the bandwidth, hence multiple transmissions are possible at the same time. Broadband communication is unidirectional, so in order to send and receive, two pathways are needed. This can be accomplished either by assigning a frequency for sending and assigning a frequency for receiving along the same cable or by using two cables, one for sending and one for receiving. In broadband frequency-division multiplexing is possible. http://www.omnisecu.com
DSL ใช้สายโทรศัพท์ที่มีอยู่แล้วได้ (1 คู่) ไม่ต้องใช้สายใหม่ (4 คู่)
50/10 น่าจะหมายถึง downstream/upstream
รวมทุกระบบมีประมาณ 2 พันล้าน subscribers Worldwide Subscribers รวมทุกระบบมีประมาณ 2 พันล้าน subscribers ในปี 2002 กิจการโทรคมนาคมในจีนยังไม่เติบโตมาก
ทุกทุก 4 - 5 คน จะมีมือถือ 1 คน
Development of 1G to 3G
Global System for Mobile Communications (GSM) ยุคแรก 1G ยุโรปใช้ analog mobile system หลายแบบ ที่มาจากมาตรฐานคล้ายๆ กัน เช่น NMT 450 แต่ใช้ความถี่ต่างกัน GSM ถูกตั้งขึ้นมาเพื่อพัฒนา 2G เป้าหมายของ GSM คือ Roaming ได้ทั่วยุโรป หมายถึง โทรถึงกันจากจุดใดก็ได้ในยุโรป ไม่ว่าจะเป็นระหว่างโทรศัทพ์มือถือด้วยกัน หรือระหว่างโทรศัพมือถือกับโทรศัพท์บ้าน) Voice service compatible to PSTN and ISDN (เปลี่ยน interface ของ ISDN ให้เป็นแบบ mobile หรือ wireless) GSM (2G) เข้ามาแทน Analog แต่ไม่ได้ให้ data rate ที่สูงมาก (ต้องรอ 3G) GSM 900 ใช้ 890-915 MHz for uplinks and 935-960 MHz for downlinks GSM 1800 หรือ Digital cellular system (DCS) ใช้ 1710-1785 MHz uplink, 1805-1880 MHz downlink GSM-Rail เพื่อ additional services เช่น voice group call service (VGCS) ฯลฯ ที่เด่นๆ คือใช้ควบคุมรถไฟ สับราง ไม้กั้น ไฟเตือน
Mobile Services GSM เป็น digital จะเข้า GSM ได้ ก็ต้องแปลงเป็น digital ก่อน ในเมืองไทยน่าจะมาแปลงเป็น digital แถวๆ นี้ เพราะโทรศัพท์บ้านยังเป็น analog อยู่ โทรศัพท์ในต่างประเทศ น่าจะเป็น ISDN หมดแล้ว แบ่ง services เป็น 3 หมวดคือ bearer / tele / supplementary services MS คือ mobile station ประกอบด้วย TE (terminal) และ MT (mobile termination) ในกล่องเส้นประ (TE + MT) คือ โทรศัพท์มือถือ TE คือ โทรศัพท์บ้าน MS ต่อกับ GSM public land mobile network (GSM-PLMN) ผ่าน Um interface GSM-PLMN ต่อกับโทรศัพท์บ้าน PSTN (analog) และ ISDN (digital) อาจจะมี source/destination network ต่อไปอีก เช่น ระบบดาวเทียมไปลงโทรศัพท์บ้าน เป็นต้น TE ด้านซ้ายคือโทรศัพท์มือถือ TE ด้านขวาเป็นโทรศัพท์บ้าน Network interface ทั้ง 3 คือ U, S, R หนังสือไม่ได้อธิบายละเอียดว่าคืออะไร U คือ interface ของ ISDN (two wires) เป็น interface ของ ISDN กรณี Um คือ แบบ mobile S คือ interface ของ ISDN (four wires) เป็น interface ของ ISDN ใช้ต่อพ่วงกับ devices อีกหลายๆ ตัว R คือ interface ของ ISDN ที่เชื่อมระหว่าง non-ISDN device (analog phone, fax, modem) กับ terminal adapter แปลงอุปกรณ์ที่ไม่ใช่ ISDN ให้เป็น ISDN device เช่น แปลง fax แบบ analog (fixed time, varied quality) ให้เป็น fax แบบ digital (varied time, fixed quality) ถ้าไม่มี interface พวกนี้คงใช้ ISDN ไม่ได้ ในรูปแสดง interface พวกนี้บน wire, MT ทำหน้าที่ เช่น FDMA, TDMA
Bearer Services Bearer Services คือ all services that enable the transparent transmission of data between the interfaces to the network (transparent คือทำให้เหมือนไม่มี network ตรงกลาง) Original GSM ให้ data rate สูงถึง 9600 bit/s for non-voice service Transmission แบบต่างๆ Transparent (ไม่ retransmit) ใช้เฉพาะ physical layer มี constant delay / throughput ใช้ forward error correction (FEC) น่าจะเหมาะกับข้อมูลเสียงพูด ถ้าไม่ได้ยินก็พูดซ้ำ ไม่ต้องส่งใหม่ มัวแต่ส่งใหม่ ก็ไม่ทัน เพราะพูดออกมาเรื่อยๆ digital fax ก็ใช้ transmission แบบ transparent Non-transparent ใช้ layer 2, 3 ควบคุมให้ส่งใหม่ ให้ bit error rate น้อยกว่า 10-7 (ถ้าจะให้เป็น 0 คงต้องใช้ application layer ช่วย) แต่ delay / throughput อาจจะแปรไปตามคุณภาพช่องสัญญาณ แบบนี้น่าจะเหมาะกับข้อมูลอื่นๆ ที่รอได้ แต่ต้องการความถูกต้องของข้อมูล ในเวลานั้นให้ความสำคัญกับ voice มากกว่า data เป็นส่วนเสริม (ปัจจุบัน data แทบจะกินส่วนแบ่งของ voice หมดแล้ว)
Tele Services บริการใน layer ที่อยู่สูงขึ้นมา (เหมือน application layers) เป้าหมายหลักของ GSM คือ high-quality digital voice transmission Emergency number ใช้เบอร์เดียวทั่วยุโรป ได้ highest priority ไม่มีค่าใช้จ่าย โทรแล้วเข้า emergency center ที่ใกล้ที่สุด Short message service (SMS) ถูกออกแบบมากับ GSM ตั้งแต่แรก ตั้งใจเอาไว้ใช้ส่งข้อมูลสภาพการจราจร สภาพอากาศ เตือนภัยพิบัติ แต่มาได้รับความนิยมจากวัยรุ่นในช่วง mid-nineties ข้อมูล เช่น logos, ringtones, horoscopes ฯลฯ ก็ถูกส่งผ่าน SMS Non-voice service เช่น “group 3 fax” หรือ fax แบบ digital ถ้าคุณภาพของช่องสัญญาณลดลง (มีการรบกวนมาก) จะปรับ data rate ให้ต่ำลงอัตโนมัติ โดยเพิ่ม redundancy ใน forward error correction (FEC)
Supplementary Services User identification Call redirection / forwarding of ongoing calls Standard ISDN features: closed user groups (เฉพาะพนักงานในบริษัท) / multi-party
System Architecture ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ radio subsystem (RSS) network and switching subsystem (NSS) operation subsystem (OSS) BSS Base Station Subsystem MS Mobile Station BTS Base Transceiver Station BSC Base Station Controller MSC Mobile Services Switching Center VLR Visitor Location Register HLR Home Location Register EIR Equipment Identity Register AUC Authentication Center OMC Operation and Maintenance Center GMSC Gateway MSC IWF Interworking Functions เป็น circuit-switched ระบบใหม่ๆ น่าจะเป็น packet-switched หมดแล้ว โทรศัพท์ analog ก็ได้
Mobile Station (MS) Subscriber identity module (SIM) Charging การคิดค่าบริการ เช่น ใช้ package อะไรอยู่ ใช้ voice หรือ data (subscribed services) ทำไมไม่ link กับเบอร์โทร? เพราะ Multi SIM? เบอร์เดียวใช้กับหลาย SIM ทุก SIM ใช้ data ได้ แต่มี SIM ตัวเดียวที่ใช้ voice ได้ (ต้อง activate SIM หลัก) ถ้าไม่มี SIM จะโทรออกเบอร์ฉุกเฉินได้เท่านั้น Authentication การยืนยันตัวผู้ใช้กับระบบ เช่น ฉันเป็นผู้ใช้ของ AIS, DTAC, TRUE personal identity number (PIN) ใช้เพื่อ unlock MS ถ้าใส่ผิด 3 ครั้งจะ lock PIN unblocking key (PUK) ใช้ unlock กรณีใส่ PIN ผิด 3 ครั้ง Authentication key Ki International mobile subscriber identity (IMSI) Dynamic information เช่น cipher key Kc, Temporary mobile subscriber identity (TMSI), Location area identification (LAI)
International mobile equipment identity (IMEI) หมายเลขเครื่อง (device specific) ใช้ป้องกันการโจรกรรม IMEI เป็นข้อมูลของเครื่อง SIM เป็นข้อมูลของผู้ใช้ ค่ายมือถือต้องแชร์ blacklist ของ EMEI ที่ถูกขโมย และระงับการใช้งาน
BTS / BSC เช่น บรรทัดแรก Management of radio channels, BTS เลือกความถี่เองไม่ได้ ต้องเชื่อฟัง BSC ที่เป็นตัวควบคุม บรรทัดที่สอง Frequency hopping, BTS ทำหน้าที่ hop และ BSC ควบคุมให้ BTS แต่ละตัว hop ด้วยความถี่ที่ไม่ตรงกัน (ในเวลาเดียวกัน)
Mobile services switching center (MSC) เป็น high-performance digital ISDN switch บริหาร BSC ที่อยู่ในพื้นที่เดียวกัน ทำ handover ระหว่าง MSC บริการเสริมทั้งหมด เช่น call forwarding, multi-party calls, reverse charging (เก็บเงินปลายทาง) Gateway MSC (GMSC) ใช้เชื่อมต่อออกไปยัง fixed network เช่น ISDN (โทรศัพท์บ้านแบบ digital ซึ่ง compatible กับ GSM) และ PSTN (โทรศัพท์บ้านแบบ analog) Interworking functions (IWF) ใช้เชื่อมต่อออกไปยัง public data networks (PDN) เช่น X.25 protocol เป็นแบบ packet switched ปัจจุบัน X.25 ถูกแทนที่ด้วย Internet Protocol (IP) หมดแล้ว Home location register (HLR) เก็บข้อมูลทั้งหมดเกี่ยวกับผู้ใช้ Static information Mobile subscriber ISDN number (MSISDN) International mobile subscriber identity (IMSI) Subscribed services (call forwarding, roaming restrictions, GPRS) ในหนังสือบอกว่าข้อมูลพวกนี้อยู่ที่ SIM ด้วย น่าจะเพื่อป้องกันการใช้ service ที่ไม่ได้รับอนุญาตตั้งแต่ที่เครื่องเลย ลดภาระไม่ต้องมาเช็คที่ HLR Dynamic information (ข้อมูลพวกนี้จะถูก update อยู่เสมอ) Current location area (LA) Mobile subscriber roaming number (MSRN) VLR และ MSC ปัจจุบัน
Visitor location register (VLR) เหมือนเป็น cache ของ HLR เมื่อผู้ใช้เข้ามาในพื้นที่ของ VLR แล้ว VLR จะก็อปปี้ข้อมูลจาก HLR มาเก็บไว้สำหรับอ่านและเขียน การเขียนที่ VLR ช่วยลดการ update ที่ HLR (ช้า อยู่ไกล)
Operation and maintenance center (OMC) ทำหน้าที่ monitor และ control อุปกรณ์ต่างๆ ผ่าน interface (X.25 เป็นแบบ packet switched) ทำรายงาน สรุปยอดการใช้งาน ออกใบเสร็จเรียกเก็บค่าบริการ Authentication centre (AuC) เก็บ algorithm และ key สำหรับเข้ารหัสข้อมูล Equipment identity register (EIR) เก็บ EMEI ทั้งหมดใน GSM network นี้ มี white list, grey list (malfunctioning devices), black list (stolen) แต่ละ GSM network ต้อง synchronize “black list” กัน แต่ในทางปฏิบัติไม่ค่อยได้ทำ ปัจจุบันถูกแทนที่ด้วย internet
Localization and calling GSM fundamental feature – automatic worldwide localization of users รู้ว่าผู้ใช้อยู่ในบริเวณใด ข้อมูลผู้ใช้อยู่ใน HLR เมื่อผู้ใช้ย้ายไปใช้ VLR ใด HLR ก็จะส่งข้อมูลของผู้ใช้ตามไปให้ การเปลี่ยน VLR (handover) และยังให้บริการ (voice + data) โดยไม่สะดุด เรียกว่า Roaming National roaming ไม่ค่อยเกิด เพราะการแข่งขัน (เช่น ใช้ AIS แต่เดินเข้าเขต TRUE ที่ไม่มีสัญญาณ AIS แล้ว roaming ได้) ใช้ AIS แต่โทรเข้าเบอร์ TRUE ได้ แบบนี้ยังไม่ใช่ roaming !!! International roaming พบมากกว่า เช่น มือถือเครื่องเดียว roaming ได้ใน 190 ประเทศ
การระบุตำแหน่ง MS ต้องใช้ Mobile station international ISDN number (MSISDN) เช่น +49 179 1234567 อยู่ใน SIM สำหรับ operator ใช้ระบุ subscriber 49 คือ country code (CC) ของเยอรมัน 179 คือ national destination code (NDC) หรือ address ของ network provider (ปกติจะตัด leading zero ทิ้ง) 1234567 คือ subscriber number (SN) หรือเบอร์โทร International mobile subscriber identity (IMSI) อยู่ใน SIM ใช้สำหรับ route the call (ถ้าไม่มี IMSI แยกจาก MSISDN เอาเบอร์เดิมย้ายค่ายไม่ได้? พอย้ายค่ายต้องเปลี่ยน IMSI เพื่อให้ route the call มายังค่ายใหม่, แต่มีแค่นี้ยังทำ roaming ไม่ได้) Mobile country code (MCC) ของไทยคือ 520 Mobile network code (MNC) AIS ใช้ 02, TRUE ใช้ 04, DTAC ใช้ 05 Mobile identification number (MSIN) เลข 10 หลักที่ใช้ระบุโทรศัพท์มือถือที่กำลังทำงานอยู่ สำหรับผู้ให้บริการ เช่น AIS, DTAC, TRUE ใช้อ้างอิงในระบบเครือข่ายของตนเองเท่านั้น แต่ละค่ายเก็บคู่ (IMSI, MAISDN) ไว้ใน HLR Temporary mobile subscriber identity (TMSI) ใช้เพื่อซ่อน IMSI จริงไว้ current VLR จะกำหนดค่า TMSI ให้ และใช้ได้แค่ชั่วระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น เมื่อหมดเวลาก็ต้องเปลี่ยน TMSI ใหม่ ป้องกันไม่ให้รู้ว่าผู้ใช้งานคือใคร เบอร์อะไร IMSI บอกแค่ว่าอยู่ค่ายไหน ไม่บอกตำแหน่ง IMSI ชื่อที่ทั่วโลกรู้จัก TMSI ชื่อเล่นในกลุ่ม AIS, DTAC, TRUE
Visitor country code (VCC) เช่น 66 Mobile station roaming number (MSRN) เป็นที่อยู่ชั่วคร่าว (เปลี่ยนค่าไปได้เรื่อยๆ) เพื่อทำ roaming, VLR จะสร้าง MSRN ให้เมื่อ MSC ขอมา, MSRN ประกอบด้วย Visitor country code (VCC) เช่น 66 Visitor national destination code (VNDC) เช่น 81 (ตัด leading zero ทิ้ง) Identification of the current MSC อยู่ที่บริเวณไหน เอาแค่ระดับ MSC มันน่าจะไปหาต่อเองได้ว่าอยู่ที่ BSC และ cell ใด Subscriber number ถ้าใช้แค่นี้อาจซ้ำกับเบอร์ในต่างประเทศ ต้องมี VCC, VNDC ด้วย MSRN บอกว่า TMSI นี้อยู่ที่ไหน The Mobile Subscriber Roaming Number (MSRN) is a temporarily telephone number assigned to a mobile station which roams into another numbering area. (This is usually another country). This number is needed by the home network to forward incoming calls for the mobile station to the network it visits.
การโทรเข้าโทรศัพท์มือถือ (Mobile terminated call) กดเบอร์โทรใน GSM เช่น ที่ขึ้นต้นด้วย 081 ส่งไป Gateway MSC (GMSC), GMSC หา HLR ให้ว่าเป็นผู้ให้บริการรายใด เช่น AIS, DTAC, TRUE โดยดูจากเบอร์โทร HLR เช็คว่ามีเบอร์นี้อยู่ในระบบ และมีสิทธิใช้งาน HLR รู้ว่าเบอร์นี้เกาะอยู่กับ VLR ใด จึงขอ MSRN มาจาก VLR นั้น VLR ส่ง MSRN มาให้ HLR รู้ address แล้วว่าต้องไปที่ MSC ใด จึง forward ไปยัง GMSC GMSC ก็ forward ต่อไปยัง MSC MSC ขอ status ของ MS (connected, available, busy) จาก VLR VLR ส่ง status กลับมา MSC ทำ paging ในทุกๆ cell ที่ MSC นั้นดูแลอยู่ (ถามทุก cell พร้อมๆ กันว่ามีเบอร์นี้เกาะอยู่หรือไม่) BSS ส่งสัญญาณไปถึง MS (ใช้ signaling channel) MS ตอบกลับไปยัง BSS (ใช้ signaling channel) BSS ตอบกลับไปยัง MSC VLR ทำ security check และเริ่มการเข้ารหัส 16. 17. VLR ส่งสัญญาณให้ MSC setup connection (สร้าง data channel) กับ MS Roaming ไปในต่างประเทศก็ได้ ลองคิดดูว่าทำยังไง ทำไมต้องไปเปิดใช้บริการก่อน ว่าจะเราจะ roaming ไปประเทศไหน
การโทรเข้าโทรศัพท์บ้าน (Mobile originated call) MS ร้องขอไปยัง BSS ว่าต้องการโทรออก BSS ส่งต่อ request นี้ไปยัง MSC MSC เช็คกับ VLR ว่าผู้ใช้งานนี้สามารถใช้บริการนี้ได้ และมีทรัพยากรพอ (มี GSM channel ว่าง และคู่สายไปยัง PSTN พอ) VLR ตอบกลับมา 6. 7. 8. 9. 10. MSC setup connection (สร้าง data channel) กับ MS
Handover Hand-over margin
Security GSM ให้ security service 3 แบบคือ Access control and authentication ใช้พิสูจน์ว่าเป็นผู้ใช้งานที่มีสิทธิใช้ SIM นั้นจริงๆ Confidentiality ข้อมูลที่ส่งไปมาระหว่าง MS และ BTS ถูกเข้ารหัส (encrypt) หมดทั้ง voice, data, signaling แต่พ้นจาก BTS ไปไม่เข้ารหัสแล้ว Anonymity ปกปิดตัวตนของผู้ใช้ ใน GSM network จะใช้ temporary identifier (TMSI) ที่กำหนดให้โดย VLR แทนการใช้ user identifier ของจริง TMSI เก็บอยู่ใน MS (น่าจะป้องกันการดักฟังใน GSM network)
ต้องสร้าง SRES ได้ตรงกัน Authentication ใน SIM ประกอบด้วย Individual authentication key, Ki User identification, IMSI Algorithm for authentication, A3 Access control (AC, อยู่ตรงไหนใน BTS?) จะสร้าง random bits แล้ว challenge ให้ MS ตอบ Signed response (SRES) กลับมา ต้องสร้าง SRES ได้ตรงกัน
Encryption ใช้ Algorithm A5, A8 ใน SIM ใช้ random number ผสมกับ Ki เพื่อสร้าง cipher key Kc สำหรับเข้ารหัสข้อมูล (ถ้าใช้ Ki บ่อยๆ เดี๋ยวคนจับได้ ต้องผสม random number ลงไปด้วย connect ใหม่รอบหน้าก็เปลี่ยน random number อีก) New key (เปลี่ยนบ่อยๆ)
General Packet Radio Service (GRPS) เปลี่ยน channel ให้เป็นแบบ packet-switched แล้วคิดเงินตามปริมาณข้อมูลที่ใช้ (ไม่ได้คิดตามเวลา) เพราะ channel นี้ใช้ร่วมกัน ใครใช้มากก็จ่ายมาก
ส่งทีละ 3 บิต เร็วขึ้น 3 เท่า Enhanced Data Rates for GSM Evolution (EDGE) 8 PSK ส่งทีละ 3 บิต เร็วขึ้น 3 เท่า Gaussian MSK