E-Commerce Chapter 1 Introduction to e-commerce

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 1 การตลาดในศตวรรษที่ 21 อ.ปั้น จูฑศฤงค์.
Advertisements

การตรวจสอบภายในที่ไม่ใช่การจับผิด ทำอย่างไร ?
Priciples of Marketing
Lesson 2 Strategic Planning and The marketing Process &Market Segmentation,Targeting, and Positioning for Competitive Advantage.
Marketing Promotional Strategy
กรอบแนวคิดและแผนงานการสื่อสาร
วิชา การตลาดระหว่างประเทศ
การประยุกต์ใช้งานมัลติมีเดีย
Customer Relationship Management (CRM)
กลุ่ม rraid. What's your name. คุณชื่ออะไร = Miss Bangon Buntanoom How old are you. - คุณอายุเท่าไหร่ = Ages 36 Years What you have finished your course.
Multimedia Systems รศ. ดร. บุญวัฒน์ อัตชู
ภาพรวมของการบัญชี (OVERVIEW OF ACCOUNTING)
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบและการวิเคราะห์ระบบ
ระบบสารสนเทศในหน่วยธุรกิจ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริการ
บทที่ 4 เทคนิคการแตกโครงสร้างงาน Work Breakdown
บทนำ การทำธุรกิจในปัจจุบันมีความสะดวกและทันสมัยมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าและพัฒนาอย่างอย่างต่อเนื่อง ทำให้ทุกคนในโลกสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ง่ายยิ่งขึ้น.
บทที่ 3 การตลาดสำหรับธุรกิจ SME
บทที่ 6 “การตลาดสำหรับธุรกิจขนาดย่อม”
: หลักการธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
The Digital Firm : Electronic Business and Electronic Commerce
Knowledge Audit and Analysis
บทที่ 8 การจัดซื้อ บทนำ บทบาทของการจัดซื้อ กิจกรรมต่างๆ ของการจัดซื้อ
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy)
บทที่ 6 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์ในสังคมสารสนเทศ
บทที่ 9 ชีวิตง่ายๆ ในโลกดิจิทัล
Marketing Concept วิวัฒนาการของแนวความคิดทางการตลาด แบ่งได้ 5 แนว
การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Retailing)
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
หน่วยที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ
โครงการอบรม e-commerce สำหรับประชาชน
การส่งเสริมการตลาด 9 กระบวนการติดต่อสื่อสาร
บทที่ 3 ระบบสารสนเทศกับการบริหารองค์กร
แนวคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการตลาด Marketing Environmental Analysis
Multimedia Production
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ (Business Strategic Planning)
ระบบการรับ-จ่ายเงินภาครัฐ สุทธิรัตน์ รัตนโชติ 16 สิงหาคม 2559
โดย โอฬาริก สุรินต๊ะ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของธุรกิจขายสินค้าออนไลน์
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
การผลิตและการจัดการการผลิต
  ISY3103 ธุรกิจสารสนเทศ.
การจัดการช่องทางการจัดจำหน่าย และการกระจายสินค้า
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
Activity-Based-Cost Management Systems.
การเป็นผู้ประกอบการและการสร้างกิจการใหม่
บทที่ 5 องค์กร การบริหารในองค์กรและการพัฒนางานอาชีพในองค์กร
วิชา การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)
บทที่ 2 การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการตลาด
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy)
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy)
การพัฒนา IT ให้บูรณาการเข้ากับโครงสร้างและระบบงาน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริการ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจ และ หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่ สัปดาห์ที่ 3 1.
การขายสินค้าออนไลน์.
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce)
สภาพแวดล้อมทางการตลาด
สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
การประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตใน พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การรวบรวมข้อมูลข่าวสารการตลาด (The Marketing Information Gathering)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

954420 E-Commerce Chapter 1 Introduction to e-commerce Modern Management and Technology College of Arts, Media and Technology

Why study e-Commerce? TV Commerce Radio Commerce Direct Mail Commerce Railroad Commerce Highway Commerce

Outline แนะนำระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การเปรียบเทียบ ระบบธุรกิจแบบดั้งเดิมกับระบบธุรกิจดิจิทัล (Overview of e-commerce and Traditional business versus digital business)

1. แนะนำระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

แนะนำระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ รู้จักกับ e-Commerce เตรียมพร้อมเข้าสู่ e- Commerce ข้อดี ข้อเสียของ e- Commerce สินค้าอะไรขายด้วย e- Commerce ได้บ้าง เริ่มต้นขายอะไรดี ลูกค้าเป้าหมายคือใคร ทำไมลูกค้าต้องซื้อสินค้าเรา นิสัยแบบไหนขายแบบ e- Commerce แล้วดี

แนะนำระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สินค้าอะไรขายดี ช่องทางการขายบน e- Commerce เปิดเว็บไซต์เอง ขายบน e-Marketplace ขายบน e-Classified ขายบน Social Media เตรียมตัวอย่างไรเพื่อขาย แต่ละรูปแบบ

สินค้าที่ซื้อขายผ่านอินเทอร์เน็ต 3 ประเภทได้แก่ สินค้าดิจิทัล (Digital Goods) สินค้าที่จับต้องได้ (Physical Goods) บริการ (Service)

สินค้าดิจิทัล (Digital Goods) สินค้าที่มีลักษณะเป็นสื่อดิจิทัลในรูปแบบต่าง ๆ ที่มี ลักษณะเป็นไฟล์ และสามารถส่งผ่านช่องทางสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ได้ ได้แก่ เพลง ภาพยนตร์ รูปภาพ

สินค้าที่จับต้องได้ (Physical Goods) สินค้าที่มีลักษณะทางกายภาพ หรือตัวตนที่สามารถจับ ต้องได้ หรือมีน้ำหนัก ได้แก่ หนังสือ ดอกไม้ รองเท้า เสื้อผ้า ผู้ขายจะต้องส่งสินค้าผ่านช่องทางการขนส่งต่าง ๆ เพื่อส่งสินค้าไปยังลูกค้า

บริการ (Service) การให้บริการในรูปแบบต่าง ๆ โดยการให้บริการ บางอย่างสามารถให้บริการผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือทางเว็บไซต์ได้ ได้แก่ บริการลงประกาศรูปภาพ หรือ บริการค้นหาข้อมูล สินค้า

The most common goods to sell online e-books Pictures & photos Digital music Audio products Video training course Web services – software programs Designed web graphics – templates Artwork

ศึกษาตัวอย่างเว็บ Physical goods

ศึกษาตัวอย่าง Social media จำหน่าย Physical goods

ศึกษาตัวอย่างเว็บ Physical goods https://shop.slickcaseoffi cial.com Click: Apple watch band ให้นักศึกษา comment เว็บ ตัวอย่าง ในด้านต่าง ๆ หากนักศึกษา เป็นผู้ซื้อ หรือลูกค้า เป็นผู้ขายสินค้า เป็นผู้พัฒนาเว็บให้สินค้า นี้

ตัวอย่าง Service

2. การเปรียบเทียบระบบธุรกิจแบบดั้งเดิมกับระบบธุรกิจดิจิทัล

The traditional approach to find a working business model is expensive! The traditional trial and error- approach works like this: Try, fail Try, succeed

ทบทวนเรื่องธุรกิจทั่วไปก่อน

ธุรกิจ (Business) เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิต การจำหน่าย และการบริการ หรือกิจกรรมใด ๆ ก็ตาม ที่ทำไปแล้วก่อให้เกิดรายได้มีกำไร เป็นตัวเงิน หรือมีผลตอบแทนในรูปแบบอื่น ๆ แต่ใน ขณะเดียวกันก็เสี่ยงกับการขาดทุนด้วย การผลิต (Production) คือ การดำเนินกิจกรรมทางด้านการ ผลิตสินค้า ซึ่งครอบคลุมถึงการผลิตทางด้านการเกษตร อุตสาหกรรม และการทำเหมืองแร่ การจำหน่าย (Distribution) คือ การดำเนินกิจกรรมต่อจากการ ผลิต โดยนำสินค้าไปสู่ผู้บริโภค ซึ่งหมายความรวมถึงการค้า ส่ง และการค้าปลีก การบริการ (Service) คือ การดำเนินกิจกรรมทางธุรกิจใน รูปแบบการให้บริการหรืออำนวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ เช่น การธนาคาร การเสริมสวย การท่องเที่ยว เป็นต้น

ธุรกิจ หมายถึง "การดำเนินกิจกรรมใด ๆ โดยบุคคลเดียวหรือกลุ่ม บุคคลก็ตาม ที่กระทำไปแล้วก่อให้เกิดรายได้โดยหวัง ผลตอบแทนเป็นกำไร" ซึ่งจากความหมายข้างต้น จะเห็นว่าถ้าเป็นกิจกรรม ทางธุรกิจแล้วนั้น จะต้องเป็นกิจกรรมที่มุ่งหวังผลกำไร หรือผลตอบแทน กิจกรรมบางอย่างไม่ถือว่าเป็นธุรกิจ เนื่องจากไม่ได้หวังผลตอบแทนเป็นกำไร เช่น การ ดำเนินงานของรัฐบาล เช่น การสร้างทางด่วน การ สร้างโรงเรียน โรงพยาบาล หรือกิจกรรมเพื่อ สาธารณะต่าง ๆ ของมูลนิธิ เป็นต้น

บทบาทและความสำคัญของธุรกิจ บทบาทในการสร้างงานสร้างอาชีพและยกมาตรฐานความเป็นอยู่ ของประชาชนให้สูงขึ้น  ธุรกิจเป็นแหล่งรายได้ของรัฐจากการจัดเก็บภาษี ซึ่งรายได้จาก ภาษีเหล่านี้ รัฐนำไปสร้างสาธารณประโยชน์หรือสาธารณูปโภค ต่าง ๆ เช่น โรงเรียน โรงพยาบาล      ธุรกิจช่วยลดปัญหาอาชญากรรม บทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ การที่ธุรกิจขยายตัว อย่างต่อเนื่องมีการจ้างงาน ประชาชนมีงานทำ จะช่วยให้ ประเทศมีเศรษฐกิจที่ดี สามารถแข่งขันกับนานาประเทศได้       บทบาทในการช่วยให้เกิดการพัฒนาทางเทคโนโลยี มีความ พยายามในการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพสินค้า รวมทั้งบริการ ด้านต่าง ๆ จะส่งผลให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างไม่มีที่ สิ้นสุด การดำเนินกิจกรรมทางธุรกิจเกี่ยวข้องกับคนเป็นจำนวนมาก มีความสำคัญและส่งผลต่อเศรษฐกิจและการพัฒนาของประเทศในด้านต่าง ๆ ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้    บทบาทในการสร้างงานสร้างอาชีพและยกมาตรฐานความเป็นอยู่ของประชาชนให้สูงขึ้น การดำเนินกิจกรรมทางธุรกิจไม่ว่ารูปแบบใดก็ตาม ส่งผลให้เกิดการจ้างงาน ทำให้ประชาชนในประเทศมีงานทำมีรายได้เพื่อใช้ในการเลี้ยงตัวเอง มีอำนาจในการใช้จ่ายเงินเพื่อซื้อสิ่งของอุปโภคบริโภคที่จำเป็น ที่ตนต้องการสร้างความมั่นคงให้แก่ตนเองและครอบครัว มีฐานะการเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น       ธุรกิจเป็นแหล่งรายได้ของรัฐจากการจัดเก็บภาษี เมื่อประชาชนมีงานทำย่อมมีรายได้ รัฐสามารถจัดเก็บภาษีและมีรายได้มากขึ้น ซึ่งรายได้จากภาษีเหล่านี้ รัฐจะนำไปสร้างสาธารณประโยชน์หรือสาธารณูปโภคต่าง ๆ สำหรับประชาชน เช่น โรงเรียน โรงพยาบาล เป็นต้น        -  ธุรกิจช่วยลดปัญหาอาชญากรรม การที่ประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดี มีงานทำ มีรายได้ ก็ไม่มีความจำเป็นต้องก่ออาชญากรรม ไม่ต้องไปปล้นจี้ ทำร้ายผู้อื่น เพื่อชิงทรัพย์สิน หรือประกอบอาชีพที่ไม่สุจริต รัฐเองก็ลดปัญหาในการจัดงบประมาณสำหรับการปราบปรามโจรผู้ร้าย ประชาชนทั่วไปมีขวัญกำลังใจไม่หวาดกลัวกับโจรผู้ร้ายที่จ้องเอาทรัพย์สิน        -  บทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ การที่ธุรกิจขยายตัวอย่างต่อเนื่องมีการจ้างงาน ประชาชนมีงานทำ มีการกระจายรายได้สูง ประชาชนกินดีอยู่ดี จะช่วยให้ประเทศมีเศรษฐกิจที่ดี สามารถแข่งขันกับนานาประเทศได้        -  บทบาทในการช่วยให้เกิดการพัฒนาทางเทคโนโลยี การแข่งขันกันทางธุรกิจจะทำให้มีความพยายามในการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพสินค้า รวมทั้งบริการด้านต่าง ๆ เพื่อให้เหนือกว่าคู่แข่งขัน และการสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า ซึ่งการศึกษาค้นคว้าพัฒนาคุณภาพและบริการอยู่เสมอ จะส่งผลให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างไม่มีที่สิ้นสุด

จุดมุ่งหมายของการประกอบธุรกิจ การดำเนินธุรกิจประเทศต่างก็มีจุดมุ่งหมายในการดำเนิน กิจการ ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้ คือ        ต้องการกำไร        ต้องการให้สิ่งที่ดีที่สุดแก่ผู้บริโภคภายใต้เงื่อนไขของ ราคาและการแข่งขัน      ต้องการความมั่นคงทางธุรกิจ       ต้องการความก้าวหน้าเจริญเติบโต   

จุดมุ่งหมายของการประกอบธุรกิจ จุดมุ่งหมายของผู้ประกอบการธุรกิจ โดยเฉพาะความ ต้องการผลกำไรสูงสุดนั้น ถือว่าเป็นจุดมุ่งหมายหลักที่ ผู้ประกอบการต้องการมากที่สุด แต่ไม่ได้หมายความว่า ต้องกอบโกยผลกำไรให้มากที่สุดเพียงอย่างเดียว โดย ไม่คำนึงถึงสิ่งอื่นใด ผู้ประกอบการต้องมีความ รับผิดชอบและคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อสังคมส่วนรวม ด้วย เช่น การตั้งโรงงานอุตสาหกรรมควรมีระบบการ กำจัดของเสียที่ดี ไม่ปล่อยของเสียจากโรงงาน จน เกิดเป็นพิษภัยสร้างความเสียหายให้แก่ชีวิตทั้งของ มนุษย์ สัตว์ และสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ นักศึกษามีจุดมุ่งหมายของการทำธุรกิจ อะไรบ้าง?

ปัจจัยพื้นฐานของการประกอบธุรกิจ ปัจจัยพื้นฐานของการประกอบธุรกิจ  การประกอบธุรกิจจำเป็นต้องอาศัยปัจจัยต่าง ๆ เพื่อให้ การดำเนินกิจการเป็นไปด้วยดี บรรลุตามวัตถุประสงค์ และจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้ ปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญของการ ประกอบธุรกิจ ประกอบด้วย 1. คน (Man) 2. เงินทุน (Money) 3. วัสดุอุปกรณ์ (Materials) 4. เครื่องจักร (Machines) 5. ความรู้ในการบริหารจัดการ (Management) 5 M’s

สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ หมายถึง ปัจจัยที่เป็น อุปสรรค หรือเป็นแรงกดดันที่มีอิทธิพลส่ง ผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
    1.  ปัจจัยที่ควบคุมได้ (Controllable Factors)        1.1  ผลิตภัณฑ์ (Product)        1.2  ราคา (Price)        1.3  ช่องทางการขาย (Place)        1.4  การส่งเสริมการขาย (Promotion)   

สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ 2. ปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ (Uncontrollable Factors) 2.1 สภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economics Environment) 2.2 สภาวะแวดล้อมทางด้านกฎหมายและการเมือง (Legal and Political Environment) 2.3 สภาวะแวดล้อมทางด้านสังคมและวัฒนธรรม (Social and Cultural Environment) 2.4 สภาวะแวดล้อมทางการแข่งขัน (Competitor Environment) 2.5 สภาวะแวดล้อมทางเทคโนโลยีและความก้าวหน้าทาง วิชาการ (Technology Environment) 2.6 พฤติกรรมของผู้บริโภค (Consumer Behavior)

อภิปรายเปรียบเทียบสิ่งแวดล้อมทางธุรกิจทั่วไปกับธุรกิจแบบอีคอมเมิร์ซ? ที่เหมือนกัน ที่ต่างกัน

แหล่งข้อมูลทางธุรกิจ แหล่งข้อมูลภายในกิจการ (Internal Sources) เช่น เอกสารต่าง ๆ ประวัติการซื้อขาย เอกสาร ทางการบัญชี เป็นต้น ซึ่งสามารถนำมา ประกอบการวางแผน บอกแนวโน้ม และกำหนด วิธีการดำเนินงานของธุรกิจในอนาคตได้ แหล่งข้อมูลภายนอกกิจการ (External Sources) เป็น ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า ซึ่งสามารถหาได้ จากหนังสือ นิตยสาร หรือข่าวสารต่าง ๆ ทั้ง ในหน่วยงานของรัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะ ผลงานวิจัย งานวิชาการ ล้วนเป็นสิ่งที่ช่วยให้ การตัดสินใจทางธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ

กิจกรรมทางธุรกิจ แบ่งได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ แบ่งได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ    1.  กิจกรรมที่เกี่ยวกับตัวสินค้า (Product Activities) ประกอบด้วย        1.1  การวางแผนและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ (Product Planning)
        1.2  การซื้อและการขาย (Buying and Selling)         1.3  การจัดลำดับและมาตรฐาน สินค้า (Grading and Standardizing)    2.  กิจกรรมเกี่ยวกับการจัด จำหน่าย (Distributing Function)
        2.1  การขนส่ง (Transportation)
        2.2  การเก็บรักษาสินค้า (Storage)    3.  กิจกรรมอำนวยความสะดวก ต่าง ๆ (Facilitation Function)
        3.1  การเงิน (Finance)
        3.2  การเสี่ยงภัย (Risk Taking)
        3.3  การหาข้อมูลทางการตลาด (Marketing Information)

กิจกรรมทางธุรกิจทั่วไปและอีคอมเมิร์ซ? กิจกรรมที่เหมือนกัน กิจกรรมที่ต่างกัน

สิ่งสำคัญการทำธุรกิจไม่ว่าจะแบบเดิมหรืออีคอมเมิร์ซว่าด้วยเรื่องของจริยธรรม จริยธรรม (Ethics)  หมายถึงหลักแห่งความ ประพฤติหรือแนวทางของความประพฤติ    จริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics)  หมายถึง การแสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม

จริยธรรมของนักธุรกิจต่อลูกค้า ขายสินค้าและบริการในราคาที่ยุติธรรม
  สินค้าและบริการต้องมีคุณภาพ
    ดูแลให้บริการแก่ลูกค้าทุกคนเท่าเทียมกัน
    ละเว้นการกระทำใด ๆ ที่ทำให้ราคาสูงขึ้นโดยไม่มี เหตุผล
   ปฏิบัติต่อลูกค้าอย่างมีน้ำใจ

จริยธรรมของนักธุรกิจต่อคู่แข่งขัน ละเว้นจากการกลั่นแกล้ง ให้ร้ายป้ายสี ข่มขู่หรือกีด กัน ไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือ ทางอ้อม    ควรให้ความร่วมมือในการแข่งขัน เช่น การให้ข้อมูล ความรู้ในด้านต่าง ๆ

จริยธรรมของนักธุรกิจต่อหน่วยงานราชการ การทำธุรกิจควรตรงไปตรงมา
  ปฏิบัติตามข้อกำหนดของกฎหมายในการทำธุรกิจ
    ละเว้นจากการติดสินบนเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน ราชการ
    ไม่สนับสนุนข้าราชการทำทุจริต
   ละเว้นการให้ของขวัญหรือของกำนัลแก่ข้าราชการ
   มีทัศนคติที่ดีและมีความเชื่อถือต่อหน่วยงานราชการ
   ให้ความร่วมมือเป็นพลเมืองที่ดี

จริยธรรมของนักธุรกิจต่อพนักงาน ให้ค่าจ้างเหมาะสม    เอาใจใส่ต่อสวัสดิการและความปลอดภัยในการทำงาน    พัฒนาให้ความรู้เพิ่มความชำนาญ   ให้ความเป็นธรรม และโอกาสที่เท่าเทียมกัน    ศึกษานิสัยใจคอและความถนัดของพนักงาน   เคารพสิทธิส่วนบุคคลของพนักงาน    ให้ความเชื่อถือและไว้เนื้อเชื่อใจ    ให้คำแนะนำและเป็นที่ปรึกษา   สนับสนุนให้พนักงานเป็นคนดี

จริยธรรมของนักธุรกิจต่อสังคม ละเว้นการประกอบธุรกิจที่ทำให้สังคมเสื่อมลง    ไม่ทำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม    เคารพสิทธิทางปัญญาของบุคคลอื่น    ให้ความร่วมมือกับชุมชนเพื่อสร้างสรรค์สังคม    ให้ความสนใจเรื่องการสร้างงานแก่คนในสังคม

จริยธรรมของนักธุรกิจต่อนักธุรกิจ มีความซื่อสัตย์สุจริตในการปฏิบัติงาน
    รักษาและรับผิดชอบทรัพย์สินของนายจ้างให้ได้ ประโยชน์อย่างเต็มที่
      ระมัดระวังเรื่องการวางตัวในสังคม
    หลีกเลี่ยงการขัดผลประโยชน์ของนายจ้าง
   ละเว้นการทำงานให้ผู้อื่น

ระบุจริยธรรมของนักศึกษาในการทำอีคอมเมิร์ซ

คุณสมบัติของผู้ประกอบธุรกิจ มีความรับผิดชอบในการทำงาน ไม่ว่าจะได้กำไรหรือขาดทุน
    กล้าเสี่ยงพอสมควร
   มีความมั่นใจในตนเอง
   มั่นใจในการประเมินผลงาน กิจการของตนเอง
   กระตือรือร้นในการทำงาน
   มองการณ์ไกล
 มีความสามารถในการคัดคนเข้า ทำงาน
   คำนึงถึงความสำเร็จของงาน มากกว่าคน
 มีความสามารถในการแก้ไข ปัญหาและการตัดสินใจ
  มนุษยสัมพันธ์และบุคลิกภาพดี
 มีความสามารถในการ ติดต่อสื่อสาร
    มีความชำนาญในงานที่ทำ
   มีความสามารถในการจัดการ และการวางแผน
  มีจริยธรรมหรือจรรยาบรรณต่อ วิชาชีพของตนเอง

นักศึกษาคิดว่ากลุ่มของตนเองมีคุณสมบัติในข้อใดที่เด่น และด้อย คุณสมบัติเด่น คุณสมบัติที่ควรปรับปรุง

วิวัฒนาการของการแลกเปลี่ยน ระบบการแลกเปลี่ยนแบบของต่อของ (Barter System)  ระบบการแลกเปลี่ยนโดยใช้เงิน (Money System)    ระบบการแลกเปลี่ยนด้วยเครดิต (Credit System) E-Commerce เหมาะกับระบบการแลกเปลี่ยน แบบใด?

ความหมายของเงินทุน เงินทุน (Money) เป็นปัจจัยสำคัญสำหรับการลงทุน เพราะ หลาย ๆ ปัจจัยที่นำมาใช้ในการลงทุน จำเป็นต้องจัดหา มาได้ด้วยเงิน ซึ่งเงินทุนในที่นี้อาจมีความหมายได้หลาย ลักษณะ ซึ่งอาจจะหมายถึง    เงินทุน เป็นเงินที่ใช้ในการลงทุนที่ก่อให้เกิด ผลตอบแทน    เงินสด  มีความจำเป็นในแง่ของความคล่องตัว ราบรื่น และต่อเนื่อง    เงินทุนหมุนเวียน  มีความหมายกว้างกว่าเงินสด เพราะ จะมองในแง่ความคล่องตัวอื่น ๆ ด้วย    ทรัพย์สินทั้งหมด  เป็นเงินทุนที่มีความหมายกว้างที่สุด เพราะเป็นการพิจารณาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงฐานะ ทางการเงินทั้งหมดของกิจการ

ประเภทของเงินทุน  เงินทุนระยะสั้น  เป็นเงินทุนหมุนเวียนสำหรับการใช้จ่าย ของธุรกิจในรอบระยะเวลาของงวดบัญชีเดียวกัน ปกติ ไม่เกิน 1 ปี ได้แก่เงินสด หลักทรัพย์ที่มีความ คล่องตัวสูง เช่น ตั๋วเงินระยะสั้น และตั๋วเงินคลัง เป็นต้น  เงินทุนระยะยาว  เป็นเงินที่มีไว้เพื่อซื้อทรัพย์สินถาวร ต่าง ๆ เมื่อเริ่มตั้งกิจการเพี่อขยายกิจการ เช่น การ ซื้อที่ดิน การก่อสร้างอาคารสำนักงานหรือโรงงาน รวมทั้งอุปกรณ์เครื่องจักรต่าง ๆ

แหล่งที่มาของเงินทุน แหล่งเงินทุนจากภายในธุรกิจเอง ได้แก่เงินทุนของ เจ้าของกิจการ  กำไรสะสม  และค่าเสื่อมราคา
 แหล่งเงินทุนจากภายนอกธุรกิจ  ได้แก่เงินทุนที่มาจาก การระดมทุน เงินทุนจากเจ้าหนี้ของกิจการ และ เงินทุนที่ได้รับจากการสนับสนุน

แหล่งที่มาของเงินทุนของนักศึกษา ได้แก่ ขอให้ร่างวางแผนเงินทุน

Defining E-Commerce The term commerce refers to all the activities in which a company or individual engages to complete a transaction. When you use the internet to engage in some or all of these activities, commerce becomes e-commerce. E-commerce: using the internet to assist in the trading of goods and services Other terms: refer to doing business over the inter include e- business, e-tailing, and e-trading

Characteristics of e-Commerce No geographical boundaries, political boundaries, or time boundaries

Benefis Conduct business 24x7 (24 hours a day, 7 days a week) Sell products to anyone in the world Respond quickly to customers Build a one-on-one relationship with customers Provide customers with up-to-the-minute information Reduce the overhead costs associated with maintaining a brick and mortar retail outlet Automate business operations to save time and money ข้อดีและข้อเสียของ E-Commerceข้อดี    1.สามารถเปิดดำเนินการได้ตลอด 24 ชั่วโมง    2.สามารถดำเนินการค้าขายได้อย่างอิสระทั่วโลก    3.ใช้ต้นทุนในการลงทุนต่ำ    4.ไม่ต้องเสียค่าเดินทางในระหว่างการดำเนินการ    5.ง่ายต่อการประชาสัมพันธ์ และยังสามารถประชาสัมพันธ์ในครั้งเดียวแต่ไปได้ทั่วโลก    6.สามารถเข้าถึงลูกค้าที่ใช้บริการอินเทอร์เนตได้ง่าย    7.ประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาสำหรับผู้ซื้อและผู้ขาย    8.ไม่จำเป็นต้องเปิดเป็นร้านขายสินค้าจริงๆ

แล้วข้อเสียของอีคอมเมิร์ซคืออะไร?

รูปแบบการขาย 1. Brick-and-mortar คือ องค์กรที่มีผลิตภัณฑ์ กระบวนการ และ การจัดส่ง ผลิตภัณฑ์ อยู่ในรูปของกายภาพทั้งหมด เช่น ร้านขายหนังสือ มีหนังสือเป็นเล่มที่สามารถจับต้องได้ การซื้อ ขายก็เป็นกายภาพ เป็น Purely Physical และ เป็นองค์กรPurely Physical Organization หรือ Brick-and-Mortar Organization บางธุรกิจได้ ปรับตัวเป็นClick-and-Mortar โดยการเพิ่มในส่วนของการสั่งซื้อสินค้า online เข้าไป เช่น ร้านซีเอ็ดบุ๊ต 2. Click-and-Mortar คือ องค์กรที่ผลิตภัณฑ์ กระบวนการ และ ตัวแทนจำหน่าย มีการ ผสมผสาน ทั้งแบบกายภาพหรือดิจิตอล เข้าด้วยกัน (Physical or digital) เช่น ร้านดอกไม้ Miss Lily ที่มีการสั่งซื้อเป็นแบบ Online ตัว สินค้าและการจัดส่งเป็นทางกายภาพ 3. Click-and-Click องค์กรเสมือน (Virtual organization) คือ องค์กรที่มี ผลิตภัณฑ์ กระบวนการ และ ตัวแทนจำหน่าย เป็นดิจิตอลทั้งหมด ทำธุรกิจแบบ online ไม่มีออฟฟิศหรือ Storeให้เดินเข้าไปซื้อของเช่น ซื้อ E-book จากAmazon หรือ ซื้อ software จาก Buy.com

SEVEN UNIQUE FEATURES OF E-COMMERCE TECHNOLOGY Ubiquity Global Reach Universal Standards Richness Interactivity Information Density Personalization/Customiz ation อ่านเพิ่มเติมได้ที่ https://www.pearsonhighered.com/samplechapter/0131735160.pdf

อ่านเพิ่มเติมได้ที่ https://www. pearsonhighered อ่านเพิ่มเติมได้ที่ https://www.pearsonhighered.com/samplechapter/0131735160.pdf

Business Models Business – to – Business (B2B) Business – to – Consumer (B2C) Consumer – to – Consumer (C2C) Consumer – to – Business (C2B) Business – to – Government (B2G) Government – to – Business (G2B) Government – to – Citizen (G2C) อ่านเพิ่มเติมได้ที่http://www.tutorialspoint.com/e_commerce/e_commerce_tutorial.pdf

สำรวจตัวเอง

Questions

บทสรุปจากนักศึกษา ระบบพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ การเปรียบเทียบระบบธุรกิจ แบบดั้งเดิมกับระบบธุรกิจ ดิจิทัล

รู้สักนิดเกี่ยวกับ SMEs (Small and Medium Enterprises) ประเภท ขนาดย่อม ขนาดกลาง จำนวน (คน) สินทรัพย์ถาวร(ล้านบาท) จำนวน (คน) สินทรัพย์ ถาวร(ล้านบาท) กิจการการผลิต ไม่เกิน 50 ไม่เกิน 50 51-200 เกินกว่า 50-200 กิจการการบริการ ไม่เกิน 50 ไม่เกิน 50 51-200 เกินกว่า 50-200 กิจการค้าส่ง ไม่เกิน 25 ไม่เกิน 50 26-50 เกิน กว่า 50-100 กิจการค้าปลีก ไม่เกิน 15 ไม่เกิน 30 16-30 เกินกว่า 30-60

References กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิยช์ http://www.dbd.go.th/main.php?filename=index introduction to E-Commerce https://www.pearsonhighered.com/samplechapter/01317 35160.pdf Tutorials Point. (2014). E-Commerce: Electronic Commerce Approach. http://www.tutorialspoint.com/e_commerce/e_commerce _tutorial.pdf.