สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ รอบที่ 1/2558 คณะที่ 4 ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหารและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ จังหวัดเลย วันที่ กุมภาพันธ์ 2558
ประเด็นการตรวจราชการ 1.ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ 1.1 มีคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพระดับเขต ดำเนินการตามอำนาจ หน้าที่ที่กำหนด 1.2 มีการคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงาน เพื่อพัฒนาระบบงานคุ้มครองผู้บริโภคสุขภาพระดับระดับจังหวัด 1.3 ร้อยละของเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน ณ สถานที่ผลิต ผ่านมาตรฐานตาม ประกาศฯ กำหนด(20-40 ppm) (เป้าหมาย:ร้อยละ 100) 1.4 ร้อยละของการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารเสริมและสถานพยาบาลผิดกฎหมาย ได้รับการจัดการ (เป้าหมาย:ร้อยละ 100) 1.5 ร้อยละของคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงามและ คลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้รับการเฝ้าระวัง และให้ดำเนินการตามกฎหมาย (เป้าหมาย:ร้อยละ 98) 2.ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 2.1 คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) ทุกจังหวัด ดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่ และแนวทางที่กำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ 1.1 มีคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพระดับเขต ดำเนินการตามอำนาจ หน้าที่ที่กำหนด แต่งตั้งอนุกรรมการฯ คบส. ระดับเขต มีคำสั่งแต่งตั้ง องค์ประกอบ ครบถ้วน มีการประชุม วิเคราะห์ปัญหา ระดับเขต ผลิตภัณฑ์ สถานพยาบาล สุขภาพและ สิ่งแวดล้อม จัดทำยุทธศาสตร์ และดำเนินการ แผน ยุทธศาสตร์ คบส.เขต การดำเนินการ ตามแผนฯ ผลการดำเนินงาน
1.2 มีการคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงานเพื่อพัฒนา ระบบงานคุ้มครองผู้บริโภคสุขภาพระดับระดับจังหวัด ….. - คณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคจังหวัดเลย ประธาน -ผู้ว่าราชการจังหวัดเลย ฝ่ายเลขานุการ - หัวหน้าสำนักงานจังหวัดเลย
แผนงาน/โครงการสำคัญ เพื่อแก้ไขปัญหา คบส. ของจังหวัดเลย โครงการตรวจสอบเฝ้าระวังสถานประกอบการ/ผลิตภัณฑ์ ก่อนและหลังได้รับอนุญาต เป้าหมายสถานพยาบาล/ผลิตภัณฑ์สุขภาพ/สถานประกอบการดำเนินการ ได้รับการตรวจสอบและผ่านเกณฑ์ตามกำหนดใน KPI template ของจังหวัดเลย ตัวชี้วัด.....วัดระดับความสำเร็จเป็น 5 ระดับตาม KPI template... แนวทางการพัฒนา ยกระดับมาตรฐาน - โครงการเฝ้าระวังตามแนวชายแดน 7 อำเภอ - ทำ KPI และ KPI template ให้ระดับอำเภอดำเนินงาน งบประมาณสนับสนุนและผู้รับผิดชอบ จาก สป. และ อย.
จำนวนสถานที่ผลิต เกลือบริโภคเสริม ไอโอดีน ของ จังหวัดเลย จำนวน แห่ง เป้าหมาย (A) (จำนวนที่เก็บ ตย.) ผลการดำเนินงาน(B) (จำนวนที่ผ่านมาตรฐาน) คิดเป็นร้อยละ (B/A)x ร้อยละของเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน ณ สถานที่ผลิต ผ่านมาตรฐานตาม ประกาศฯ กำหนด(20-40 ppm) (เป้าหมาย:ร้อยละ 100) จังหวัดเลย ไม่มีสถานที่ผลิตเกลือ แต่ได้มีการส่งตัวอย่างน้ำปลาผสมไอโอดีน จำนวน 2 ตัวอย่าง เพื่อตรวจวิเคราะห์ อยู่ระหว่างรอผลการตรวจวิเคราะห์
การเฝ้าระวังสื่อ โฆษณาของ จังหวัดเลย 1.สื่อวิทยุ เคเบิ้ลทีวี สิ่งพิมพ์ อื่นๆ เป้าหมาย (A) (จำนวนสื่อโฆษณา ที่พบการกระทำผิด) ผลการดำเนินงาน(B) (จำนวนสื่อโฆษณา ที่ได้รับการจัดการ) คิดเป็นร้อยละ (B/A)x ร้อยละของการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารเสริมและสถานพยาบาล ผิดกฎหมายได้รับการจัดการ (เป้าหมาย:ร้อยละ 100) -
1) ร้อยละของคลินิก เวชกรรมที่ให้บริการ ด้านเสริมความงาม ได้รับการตรวจ มาตรฐาน เป้าหมาย (A) (จำนวนคลินิกเวชกรรมที่ ให้บริการด้านเสริมความงาม) ผลการดำเนินงาน(B) (จำนวนคลินิกเวชกรรมที่ ให้บริการด้านเสริมความงามที่ ได้รับการตรวจสอบ) คิดเป็นร้อยละ (B/A)x ร้อยละของคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงามและ คลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้รับการเฝ้าระวัง และให้ดำเนินการตามกฎหมาย (เป้าหมาย:ร้อยละ 98) 2) ร้อยละของเรื่อง ร้องเรียนคลินิกที่ ไม่ได้รับอนุญาตให้ ประกอบกิจการ สถานพยาบาลได้รับ ดำเนินการตาม กฎหมาย เป้าหมาย (A) (จำนวนเรื่องร้องเรียน) ผลการดำเนินงาน(B) (จำนวนเรื่องร้องเรียนที่ได้รับ การดำเนินการ ภายใน ระยะเวลาที่กำหนด) คิดเป็นร้อยละ (B/A)x
1.5 ร้อยละของคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงามและ คลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้รับการเฝ้าระวัง และให้ดำเนินการตามกฎหมาย (เป้าหมาย:ร้อยละ 98) (ต่อ) ดำเนินการแก้ไขปัญหาคลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ สถานพยาบาล ได้รับดำเนินการตามกฎหมายภายในระยะเวลาที่กำหนด ดังนี้ ดำเนินการแก้ไขปัญหาคลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ สถานพยาบาล ได้รับดำเนินการตามกฎหมายภายในระยะเวลาที่กำหนด ดังนี้ ระยะเวลา ๓๐ วันทำการ ได้แก่ เรื่องที่ทางหน่วยงานมีการเฝ้าระวังและ ตรวจพบว่าการกระทำความผิดนั้น เข้าข่ายผิดกฎหมาย และมีหลักฐาน ข้อมูล ชัดเจนครบถ้วน สามารถรวบรวมข้อเท็จจริง โดยไม่ต้องหา หลักฐานเพิ่มเติม จำนวน 1 แห่ง ระยะเวลา ๓๐ วันทำการ ได้แก่ เรื่องที่ทางหน่วยงานมีการเฝ้าระวังและ ตรวจพบว่าการกระทำความผิดนั้น เข้าข่ายผิดกฎหมาย และมีหลักฐาน ข้อมูล ชัดเจนครบถ้วน สามารถรวบรวมข้อเท็จจริง โดยไม่ต้องหา หลักฐานเพิ่มเติม จำนวน 1 แห่ง
2.ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 2.1 คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) ทุกจังหวัด ดำเนินงาน ตามอำนาจหน้าที่และแนวทางที่กำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ประเด็นการตรวจราชการ คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด ( อสธจ.) ทุกจังหวัดดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่และแนวทางที่ กำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ อยู่ระหว่างการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ สาธารณสุขจังหวัด คณะอนุฯ ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน หัวหน้าส่วน ราชการในจังหวัด ตัวแทนอปท. ผู้ทรงคุณวุฒิ เป็น อนุกรรมการ นพ. สสจ. เป็นอนุกรรมการและเลขาฯ หัวหน้ากลุ่มงาน อนามัยสิ่งแวดล้อม สสจ. และ ผู้รับผิดชอบงานกฎหมายสาธารณสุข สสจ. เป็นอนุกรรมการและผู้ช่วยเลขาฯ คำสั่งลงนามโดยปลัดประทรวงสาธารณสุข ผลการดำเนินงาน ของจังหวัด
ประเด็นการตรวจราชการ คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด ( อสธจ.) ทุกจังหวัดดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่และแนวทางที่ กำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. จังหวัดได้ดำเนินการคัดเลือก / สรรหาคณะอนุกรรมการสาธารณสุข จังหวัดเรียบร้อยแล้ว ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจสอบความถูกต้องและ จัดทำคำสั่ง เสนอแต่งตั้ง 2. สถานการณ์ด้านสุขภาพ ความเสี่ยงในพื้นที่ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และ ข้อร้องเรียนจากเหตุรำคาญในพื้นที่มียังมีปัญหาในหลายประเด็น ได้แก่ สุขาภิบาลอาหาร ตลาดสด 1 จำนวน 23 แห่ง ผ่านเกณฑ์ตลาดสด น่าซื้อระดับดีมาก 2 แห่ง ระดับดี 21 แห่ง ร้านอาหาร / แผงลอย 1,213 แห่ง ผ่านเกณฑ์ CFGT 1,051 แห่ง ร้อยละ ผ่านเกณฑ์ CFGT plus 1 แห่ง การเฝ้าระวังและควบคุมน้ำบริโภค มีตู้น้ำหยอดเหรียญ 34 แห่ง มี ฉลากถูกต้อง 4 แห่ง ยังไม่มีการตรวจคุณภาพน้ำ วิเคราะห์สถานการณ์และความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของ จังหวัด
ประเด็นการตรวจราชการ คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด ( อสธจ.) ทุกจังหวัดดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่และแนวทางที่ กำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้านการจัดการขยะติดเชื้อมี รพท./ รพช. 14 แห่ง รพ. สต. 127 แห่ง มีขยะติดเชื้อ 345 กก./ วัน กำจัดโดยการให้เอกชนนำไปกำจัด มีการ ใช้เอกสารกำกับติดตามทุกแห่ง ( มีเอกสารส่งกลับ จำนวน 13 แห่ง ) ด้านการใช้กฎหมาย มี อปท. จำนวน 100 แห่ง มี อปท. ออก ข้อกำหนดท้องถิ่นตาม พรบ. สาธารณสุข 2535 จำนวน 92 แห่ง แต่ยังไม่ ครอบคลุมทุกหมวด เรื่องร้องเรียนมีจำนวน 6 เรื่อง แก้ไขเรียบร้อยแล้ว 5 เรื่อง อยู่ระหว่างการแก้ไข 1 เรื่อง วิเคราะห์สถานการณ์และความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของ จังหวัด ( ต่อ )
ขอขอบคุณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมอนามัย