MTH 261 File Management. File Management File Management จะอธิบายเกี่ยวกับการเขียน ส่วนจัดการแฟ้มข้อมูล เราสามารถที่จะเขียน โปรแกรมเพื่อเรียกใช้แฟ้มข้อมูลที่เรามี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปี 2557/58
Advertisements

การแก้ปัญหาการใช้งาน ADO กับ Database อุทัย เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
CHAPTER 14 Database Management
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
 ตัวแปร คือ สิ่งที่เอาไว้เก็บค่า ข้อมูลต่างๆ  เราสามารถใช้ตัวแปรในการระบุค่า ให้กับตัวเลขด้านหลังคำสั่งได้  เช่น rt 30 เราสามารถสร้างตัว แปรในการแทนค่า.
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
การเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล โดยใช้โครงสร้างหลักทั้ง 3 โครงสร้าง
การ UNINSTALL PROGRAM จัดทำโดย 1. นายณัฐวิทย์ ปาลีกุย เลขที่ นายธนพล สินจ้าง เลขที่ 13 เตรียมสถาปัตยกรรมศาสตร์ ปี 1.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การใช้งาน Microsoft Excel
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
การสร้างฐานข้อมูลใหม่ หมายถึง การสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่บน Access สามารถกำหนด ได้ดังต่อไปนี้ ภาพแสดงการสร้างฐานข้อมูลใหม่
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 1 MIT App Inventor เรียนรู้การใช้งานเบื้องต้น ทดสอบการเชื่อมต่อโปรแกรมกับโทรศัพท์มือถือ
การออกแบบโครงสร้างข้อมูล การออกแบบโครงสร้างข้อมูล หมายถึง กรณีสร้างตารางใหม่ด้วย ออกแบบตาราง (Table Design) เพื่อต้องการกำหนด โครงสร้างด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนการ.
ตอนที่ 2 โครงสร้างภาษา C Arduino เบื้องต้น
คำสั่งควบคุมการทำงาน
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Word ที่ไม่ใช่แค่ Word
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
แนวข้อสอบ Final (จดด่วน)
Introduction to VB2010 EXPRESS
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
ครูวีรธรรม เทศประสิทธิ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
BC320 Introduction to Computer Programming
โครงสร้างภาษา C Arduino
QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ.
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
SPEI R & R Studio Program User Manual.
บทที่ 13 การจัดการไฟล์ (File Management)
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
การจัดเตรียมเครื่องมือและข้อมูล
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
เนื่องจากข้าราชการและลูกจ้างของสำนักงานสรรพสามิต พื้นที่ และพื้นที่สาขา บางคนยังไม่ยังรู้และไม่เข้าใจในการ ใช้งานระบบผู้กระทำผิดกฎหมายสรรพสามิต ประกอบกับเจ้าหน้าที่กรมสรรพสามิต.
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
Week 5 C Programming.
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
หน่วยที่ 6 อะเรย์ของอักขระ
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
การจัดบล๊อคและบัฟเฟอร์ (Blocking and Buffering)
Array: One Dimension Programming I 9.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แบบภาษาเชิงวัตถุ
การเติบโตของฟังก์ชัน (Growth of Functions)
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

MTH 261 File Management

File Management File Management จะอธิบายเกี่ยวกับการเขียน ส่วนจัดการแฟ้มข้อมูล เราสามารถที่จะเขียน โปรแกรมเพื่อเรียกใช้แฟ้มข้อมูลที่เรามี เพื่อ ทำงานต่างๆ และจัดเก็บข้อมูลต่างๆที่ได้จาก การทำงานของโปรแกรมลงในแฟ้มข้อมูลได้ ซึ่ง จะมีประโยชน์ในการเขียนโปรแกรมประเภท แฟ้มข้อมูลบุคคลหรือบัญชี ต่างๆได้ เช่น โปรแกรมฐานข้อมูลของนักศึกษา เป็นต้น File Management จะอธิบายเกี่ยวกับการเขียน ส่วนจัดการแฟ้มข้อมูล เราสามารถที่จะเขียน โปรแกรมเพื่อเรียกใช้แฟ้มข้อมูลที่เรามี เพื่อ ทำงานต่างๆ และจัดเก็บข้อมูลต่างๆที่ได้จาก การทำงานของโปรแกรมลงในแฟ้มข้อมูลได้ ซึ่ง จะมีประโยชน์ในการเขียนโปรแกรมประเภท แฟ้มข้อมูลบุคคลหรือบัญชี ต่างๆได้ เช่น โปรแกรมฐานข้อมูลของนักศึกษา เป็นต้น ตัวคำสั่งจะมี อยู่ 2 คำสั่งคือ OPEN กับ CLOSE ตัวคำสั่งจะมี อยู่ 2 คำสั่งคือ OPEN กับ CLOSE

OPEN OPEN ใช้ในการเปิดไฟล์ขึ้นมาใช้งาน OPEN ใช้ในการเปิดไฟล์ขึ้นมาใช้งาน รูปแบบ OPEN(UNIT= จำนวนเต็มตั้งแต่ 0 ขึ้นไป,FILE=’ ที่อยู่ ของไฟล์ ’, STATUS= *1,ACTION= *2,IOSTAT= *3) *1 สามารถใส่ได้ 5 ค่าคือ *1 สามารถใส่ได้ 5 ค่าคือ ‘ OLD ’ หมายถึง เปิดไฟล์ข้อมูลเก่าขึ้นมาใช้งาน ‘ OLD ’ หมายถึง เปิดไฟล์ข้อมูลเก่าขึ้นมาใช้งาน ‘ NEW ’ หมายถึง สร้างไฟล์ใหม่ โดยถ้ามี ไฟล์ข้อมูลเก่าที่มีชื่อเหมือนกันจะเกิด error ‘ NEW ’ หมายถึง สร้างไฟล์ใหม่ โดยถ้ามี ไฟล์ข้อมูลเก่าที่มีชื่อเหมือนกันจะเกิด error

‘ REPLACE ’ หมายถึง การสร้างไฟล์ใหม่โดย ลบไฟล์เก่าที่มีชื่อเดียวกันทิ้งไปก่อน ( ถ้าไม่มี ไฟล์เก่าจะทำงานเหมือน ’ OLD ’ ) ‘ REPLACE ’ หมายถึง การสร้างไฟล์ใหม่โดย ลบไฟล์เก่าที่มีชื่อเดียวกันทิ้งไปก่อน ( ถ้าไม่มี ไฟล์เก่าจะทำงานเหมือน ’ OLD ’ ) ‘ SCRATCH ’ หมายถึง สร้างไฟล์ชั่วคราวซึ่งไม่ มีชื่อเพื่อทำงาน ( เมื่อโปแกรมดำเนินการถึง CLOSE หรือ จบโปรแกรมข้อมูลไฟล์จะหายไป ดังนั้น ถ้าประกาศ STATUS= ‘ SCRATCH ’ จะ ไม่ใส่ที่อยู่ของไฟล์ ) ‘ SCRATCH ’ หมายถึง สร้างไฟล์ชั่วคราวซึ่งไม่ มีชื่อเพื่อทำงาน ( เมื่อโปแกรมดำเนินการถึง CLOSE หรือ จบโปรแกรมข้อมูลไฟล์จะหายไป ดังนั้น ถ้าประกาศ STATUS= ‘ SCRATCH ’ จะ ไม่ใส่ที่อยู่ของไฟล์ ) ‘ UNKNOWN ’ หมายถึง การจัดการจะขึ้นอยู่ กับ โปรแกรมคอมไพเลอร์ ‘ UNKNOWN ’ หมายถึง การจัดการจะขึ้นอยู่ กับ โปรแกรมคอมไพเลอร์

*2 สามารถใส่ได้ 3 ค่าคือ *2 สามารถใส่ได้ 3 ค่าคือ ‘ READ ’ หมายถึง สามารถอ่านข้อมูลจากไฟล์ ได้อย่างเดียวเท่านั้น ‘ READ ’ หมายถึง สามารถอ่านข้อมูลจากไฟล์ ได้อย่างเดียวเท่านั้น ‘ WRITE ’ หมายถึง สามารถเขียนข้อมูลลงใน ไฟล์ได้อย่างเดียวเท่านั้น ‘ WRITE ’ หมายถึง สามารถเขียนข้อมูลลงใน ไฟล์ได้อย่างเดียวเท่านั้น ‘ READWRITE ’ หมายถึง สามารถทำการอ่าน และเขียนไฟล์ได้ ‘ READWRITE ’ หมายถึง สามารถทำการอ่าน และเขียนไฟล์ได้

*3 จะใช้ตัวแปรที่มีชนิดเป็น INTEGER เก็บ ค่า error เอาไว้ โดยถ้าตัวแปรดังกล่าวเก็บค่า 0 ไว้ แสดงว่า ไม่มี error ในการใช้ OPEN *3 จะใช้ตัวแปรที่มีชนิดเป็น INTEGER เก็บ ค่า error เอาไว้ โดยถ้าตัวแปรดังกล่าวเก็บค่า 0 ไว้ แสดงว่า ไม่มี error ในการใช้ OPEN

Example Program file_example implicit none integer::ierror Open(unit=13,file=‘test.dat’,status = ‘NEW’, action = ‘WRITE’, iostat = ierror) if (ierror /= 0) then print *, ‘Failed to open test.dat’ print *, ‘Failed to open test.dat’ stop stop end if write(unit=13, fmt=*) ‘Hello World!’ close(unit=13) end program

CLOSE CLOSE ใช้ในการปิดไฟล์ที่เปิดใช้งานอยู่ CLOSE ใช้ในการปิดไฟล์ที่เปิดใช้งานอยู่ รูปแบบ CLOSE (UNIT= เลขยูนิทของไฟล์ที่จะปิด ) จงเขียนโปรแกรมรับข้อมูลชื่อ เก็บลงไฟล์ namex.txt โดยที่ไฟล์ ดังกล่าวเป็นไฟล์ที่ถูกสร้างขึ้นใหม่ จงเขียนโปรแกรมรับข้อมูลชื่อ เก็บลงไฟล์ namex.txt โดยที่ไฟล์ ดังกล่าวเป็นไฟล์ที่ถูกสร้างขึ้นใหม่ PROGRAM file_management INTEGER :: rt=0 INTEGER :: rt=0 CHARACTER(len=30) :: name CHARACTER(len=30) :: name OPEN(UNIT=1,FILE = 'c:\namex.txt',STATUS='NEW',ACTION='WRITE',IOSTATE =rt) OPEN(UNIT=1,FILE = 'c:\namex.txt',STATUS='NEW',ACTION='WRITE',IOSTATE =rt) PRINT *,'please enter name: ' PRINT *,'please enter name: ' READ (*,*) name READ (*,*) name WRITE (1,*) name ! คือ นำค่าตัวแปร name เขียนลงใน ยูนิท 1 ในที่นี้คือ ไฟล์ namex.txt นั่นเอง WRITE (1,*) name ! คือ นำค่าตัวแปร name เขียนลงใน ยูนิท 1 ในที่นี้คือ ไฟล์ namex.txt นั่นเอง CLOSE (unit=1) CLOSE (unit=1) END PROGRAM END PROGRAM

จากตัวอย่างจงเรียกไฟล์ namex.txt ออกมาใช้งาน โดยให้รับค่าข้อมูลอีกค่าหนึ่งเก็บไว้ในไฟล์เดิม จากตัวอย่างจงเรียกไฟล์ namex.txt ออกมาใช้งาน โดยให้รับค่าข้อมูลอีกค่าหนึ่งเก็บไว้ในไฟล์เดิม เขียนส่วนต่อไปนี้เพิ่มไปในตัวอย่างด้านบน ต่อจาก คำสั่งปิดไฟล์ เขียนส่วนต่อไปนี้เพิ่มไปในตัวอย่างด้านบน ต่อจาก คำสั่งปิดไฟล์ OPEN(UNIT=1,FILE ='c:\namex.txt',STATUS='OLD',ACTION='READWRITE',IOSTAT=rt) READ (1,*) name ! คือ อ่านข้อมูลจากยูนิต 1 ในที่นี้คือไฟล์ namex.txt มาเก็บไว้ในตัว แปร name PRINT *,'old data is ',name PRINT *,'old data is ',name PRINT *,'please enter name: ' PRINT *,'please enter name: ' READ (*,*) name READ (*,*) name WRITE (1,*) name WRITE (1,*) name CLOSE (UNIT=1) CLOSE (UNIT=1)

PROGRAM file_management INTEGER :: rt=0 INTEGER :: rt=0 CHARACTER(len=30) :: name CHARACTER(len=30) :: name OPEN(UNIT=1,FILE = 'c:\namex.txt',STATUS='NEW',ACTION='WRITE',IOSTATE=rt) PRINT *,'please enter name: ' PRINT *,'please enter name: ' READ (*,*) name WRITE (1,*) name CLOSE (unit=1) OPEN(UNIT=1,FILE ='c:\namex.txt',STATUS='OLD',ACTION='READWRITE',IOSTAT=rt) READ (1,*) name PRINT *,'old data is ',name PRINT *,'please enter name: ' READ (*,*) name WRITE (1,*) name CLOSE (UNIT=1) END PROGRAM

ถ้าในตัวอย่างที่แล้ว ป้อนข้อมูลไปว่า mathematics และในตัวอย่างนี้ป้อนข้อมูลไปว่า ComputerScience ถ้าในตัวอย่างที่แล้ว ป้อนข้อมูลไปว่า mathematics และในตัวอย่างนี้ป้อนข้อมูลไปว่า ComputerScience ไฟล์ข้อมูลนี้จะมีข้อมูลอะไรบ้าง ? คำตอบคือ มี ทั้ง mathematics และ ComputerScience เพราะว่า STATUS='OLD' เป็นการเปิดไฟล์เก่าขึ้นมาใช้ งาน โดยถ้ามีการเขียนข้อมูลอื่นเข้ามาในไฟล์ มันจะเขียนเพิ่มเข้าไปรวมกับข้อมูลที่มีอยู่ในไฟล์ นั้นแล้ว และ เราไม่สามารถนำค่าข้อมูลมา กระทำกับไฟล์โดยตรงได้ ดังนั้นจึงต้องใช้ตัวแปร เป็นสื่อกลาง ไฟล์ข้อมูลนี้จะมีข้อมูลอะไรบ้าง ? คำตอบคือ มี ทั้ง mathematics และ ComputerScience เพราะว่า STATUS='OLD' เป็นการเปิดไฟล์เก่าขึ้นมาใช้ งาน โดยถ้ามีการเขียนข้อมูลอื่นเข้ามาในไฟล์ มันจะเขียนเพิ่มเข้าไปรวมกับข้อมูลที่มีอยู่ในไฟล์ นั้นแล้ว และ เราไม่สามารถนำค่าข้อมูลมา กระทำกับไฟล์โดยตรงได้ ดังนั้นจึงต้องใช้ตัวแปร เป็นสื่อกลาง ( ในตัวอย่างคือ READ (1,*) name กับ WRITE (1,*) name )

LAB MTH 261 (13/09/2550) เขียนโปรแกรมสร้างแฟ้มข้อมูล มีสมาชิก ประกอบด้วยเลขจำนวนจริงสามตัว x, y, z โดย ให้ทำการหาค่าจำนวนจริงทั้งสามตัวโดยวิธีสุ่ม (Random method) ที่อยู่ระหว่าง 0 และ 1 จำนวน 10 ชุด แล้วทำการคำนวณหาค่า function โดยการแทนค่าตัวแปรทั้งสามจาก แฟ้มข้อมูลแรก จากนั้นให้ทำการเก็บผลลัพธ์ ของค่า function ที่ได้ทั้ง 10 ชุด ไว้ที่ แฟ้มข้อมูลใหม่