บทที่ 7 คอมพิวเตอร์กับงานด้านการเงิน บทที่ 7 คอมพิวเตอร์กับงานด้านการเงิน คอมพิวเตอร์และสารสนเทศในงานธุรกิจ รหัสวิชา 3200-0011
บทที่ 7 คอมพิวเตอร์กับงานด้านการเงิน บทที่ 7 คอมพิวเตอร์กับงานด้านการเงิน 1. แนวคิดระบบสาระสนเทศด้านการเงิน 2. บทบาทของระบบสารสนเทศด้านการเงิน 3. การจัดการการเงิน 4. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานการเงินและการพาณิชย์ 5. การนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้กับการบริหารการเงิน รหัสวิชา 3200-0011
แนวคิดระบบสารสนเทศด้านการเงิน ระบบสารสนเทศด้านการเงิน สนับสนุนผู้จัดการฝ่ายการเงินในการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับ การเงินของบริษัท การจัดสรรและควบคุมแหล่งการเงินภายในบริษัท ประเภทของระบบสารสนเทศทางการเงินที่สำคัญที่รวมการจัดการเงินสดและการลงทุน การทำงบประมาณการเงินการคาดการณ์ทางการเงิน และการวางแผนทางการเงิน
บทบาทของระบบสารสนเทศด้านการเงิน การจัดการทางการเงินจะมีบทบาทหน้าที่ที่สำคัญ 3 ประการ ดังต่อไปนี้ 1. การพยากรณ์ (forecast) 2. การจัดการด้านการเงินภายในองค์กร (financial management) 3. การควบคุมทางการเงิน (financial control) •
การจัดการการเงิน หน้าที่หลักทางการเงิน 1.1 การคาดการณ์ทางการเงิน แสดงจำนวนเงินที่จะเข้าสู่กิจการ แหล่งที่มาการใช้จ่าย ตัวอย่างการใช้แบบจำลองกระแสเงินสด 1.2 การจัดการเงินทุน แหล่งเงินทุน การกู้ ออกพันธบัตรเงินกู้ ออกหุ้น รวมกิจการ สามารถใช้แบบจำลองทางเลือกต่าง ๆ สำหรับบริหารเงิน 1.3 การตรวจสอบ (auditing) - เป็นไปตามแผนที่กำหนดหรือแนวทางที่กำหนด - การตรวจสอบภายใน (internal audit) การเงิน การปฏิบัติการ - การตรวจสอบภายนอก (external audit) โดยผู้ตรวจสอบบัญชีอิสระ ผลการตรวจสอบทางการเงิน จะได้ งบรายได้ งบกำไรขาดทุน งบดุล
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานการเงินและการพาณิชย์ 1. บริการธนาคารทางอินเทอร์เน็ต (internet banking) 2. ระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์(E-Payment) 3. การบริหารจัดการคลังสินค้า และสินค้าคงคลัง
การนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้กับการบริหารการเงิน สำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศที่ผู้ประกอบการสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการบริหารการเงินได้นั้น อาจพัฒนาขึ้นโดยการเขียนโปรแกรมไว้ใช้งานด้วยตนเอง หรืออาจเลือกใช้โปรแกรมสำเร็จรูปที่สามารถนำมาใช้งานได้ทันทีก็เป็นได้ ซึ่งหนึ่งในโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยม และถูกนำมาใช้กับการบริหารการเงินอย่างแพร่หลาย ก็คือ โปรแกรม Microsoft Excel นั่นเอง
บทที่ 7 คอมพิวเตอร์กับงานด้านการเงิน บทที่ 7 คอมพิวเตอร์กับงานด้านการเงิน แบบทดสอบหน่วยที่ 7 1. การตรวจสอบและการควบคุมการทางการเงินของธุรกิจสามารถจำแนกออกเป็นกี่ประเภท ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท 2. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ แหล่งข้อมูลสำคัญในการบริหารเงินขององค์การ ก. operations data ข. forecasting data ค. external data ง. internal control รหัสวิชา 3200-0011
บทที่ 7 คอมพิวเตอร์กับงานด้านการเงิน บทที่ 7 คอมพิวเตอร์กับงานด้านการเงิน แบบทดสอบหน่วยที่ 7 3. Cash Flow Forecasts เกี่ยวข้องกับเรื่องใด ก. การจัดการเงินสด ข. การจัดการการลงทุนออนไลน์ ค. งบประมาณเงินลงทุน ง. การคาดการณ์และการวางแผนด้านการเงิน 4. ข้อใดไม่ถือว่าเป็น แหล่งสารสนเทศทางการเงิน ก. แหล่งเงินทุน ข. ยอดขาย ค. การจ่ายดอกเบี้ย ง. จำนวนพนักงานขาย รหัสวิชา 3200-0011
บทที่ 7 คอมพิวเตอร์กับงานด้านการเงิน บทที่ 7 คอมพิวเตอร์กับงานด้านการเงิน แบบทดสอบ หน่วยที่ 7 5. E-Payment หมายถึงข้อใด ก. ระบบตรวจสอบบัญชีอัตโนมัติ ข. ระบบชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์ ค. ระบบถอนเงินอัตโนมัติ ง. ระบบแจ้งยอดบัญชีอัตโนมัติ 6. หากต้องการคำนวณหากำไรที่ได้รับคืนจากการลงทุนจะต้องใช้ฟังก์ชั่นใด ก. FV ข. IRR ค. SLN ง. SYD รหัสวิชา 3200-0011
บทที่ 7 คอมพิวเตอร์กับงานด้านการเงิน บทที่ 7 คอมพิวเตอร์กับงานด้านการเงิน แบบทดสอบหน่วยที่ 7 7. หากต้องการคำนวณค่าเสื่อมราคาแบบผลรวมจำนวนปี จะต้องใช้ฟังก์ชั่นใด ก. VDB ข. DB ค. SYD ง. DDB 8. หากต้องการคำนวณอัตราดอกเบี้ยต่องวดระยะเวลาจะต้องใช้ฟังก์ชั่นใด ก. Per ข. Rate ค. Nper ง. Pv รหัสวิชา 3200-0011
บทที่ 7 คอมพิวเตอร์กับงานด้านการเงิน บทที่ 7 คอมพิวเตอร์กับงานด้านการเงิน แบบทดสอบหน่วยที่ 7 9. หากต้องการหาเงินที่ต้องผ่อนในแต่ละเดือนเป็นจำนวนเท่าใดจะต้องใช้ฟังก์ชั่นใด ก. NPER ข. PPMT ค. IPMT ง. PMT 10. การจัดการทางการเงินจะมีบทบาทหน้าที่ที่สำคัญกี่ประการ ก. 1 ประการ ข. 2 ประการ ค. 3 ประการ ง. 4 ประการ รหัสวิชา 3200-0011