งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภัยธรรมชาติและการระวังภัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภัยธรรมชาติและการระวังภัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภัยธรรมชาติและการระวังภัย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ภัยธรรมชาติและการระวังภัย

2 ภัยธรรมชาติและการระวังภัย
ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นฉับพลัน ภัยธรรมชาติที่มีสัญญาณเตือนล่วงหน้า

3 ภัยธรรมชาติที่มีสัญญาณเตือนล่วงหน้า

4 อุทกภัย สาเหตุการเกิดอุทกภัย  ฝนตกหนักต่อเนื่อง  การระบายน้ำไม่ดี  พื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม  น้ำทะเลหนุน  แม่น้ำตื้นเขิน

5 แนวทางป้องกันและระวังภัยจากอุทกภัย
 ไม่สร้างสิ่งกีดขวางทางน้ำ  ขุดลอกลำน้ำเพื่อลดการตื้นเขิน  บริหารจัดการน้ำส่วนเกิน  ติดตั้งระบบเตือนภัยล่วงหน้า  ติดตามข่าวการพยากรณ์อากาศ

6 แผ่นดินถล่ม สาเหตุแผ่นดินถล่ม  ฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง
 ฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง  การสึกกร่อนของหิน  ความลาดเอียงของพื้นที่  แผ่นดินไหวภูเขาไฟปะทุ  การตัดไม้ทำลายป่า

7 แนวทางป้องกันและระวังภัยจากแผ่นดินถล่ม
 ไม่บุกรุกทำลายพื้นที่ป่า  ไม่ก่อสร้างอาคารตามไหล่เขา  ไม่ทำการเกษตรบริเวณเชิงเขา  ไม่สร้างสิ่งก่อสร้างใกล้ เส้นทางน้ำไหลตามธรรมชาติ  ติดตามข่าวสารการพยากรณ์ ของกรมอุตุนิยมวิทยา

8 ภัยแล้ง สาเหตุภัยแล้ง  การตัดไม้ทำลายป่า
 การตัดไม้ทำลายป่า  การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเล  การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลก  การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ  การพัฒนาด้านอุตสาหกรรม

9 แนวทางป้องกันและระวังภัยจากภัยแล้ง
 ลดการตัดไม้และฟื้นฟูพื้นที่ป่าไม้  ทำฝนเทียม  สร้างฝาย เขื่อน ขุดลอกแหล่งน้ำ  ใช้น้ำอย่างประหยัด  ติดตามข่าวสารพยากรณ์อากาศ

10 ไฟป่า  อากาศแห้ง อุณหภูมิสูง  การเผาป่าเพื่อล่าสัตว์
สาเหตุการเกิดไฟป่า  อากาศแห้ง อุณหภูมิสูง  การเผาป่าเพื่อล่าสัตว์  การขยายพื้นที่เพาะปลูก  ฟ้าผ่า กิ่งไม้เสียดสีกัน  ภูเขาไฟปะทุ  ความประมาท ความคึกคะนอง 8

11 แนวทางป้องกันและระวังภัยจากไฟป่า
 การทำแนวกันไฟ  เตรียมเจ้าหน้าที่ดับไฟป่า  การปลูกต้นไม้เพื่อให้มีความชุ่มชื้น  การสร้างฝายชะลอความชุ่มชื้น  รณรงค์ป้องกันไฟป่า

12 วาตภัย สาเหตุวาตภัย  พายุหมุนเขตร้อน ได้แก่ ดีเปรสชั่น พายุโซนร้อน และพายุไต้ฝุ่น  พายุฤดูร้อน  ลมงวง (ทอร์นาโด)

13 แนวทางป้องกันและระวังภัยจากวาตภัย
 ติดตามสภาวะอากาศจากกรมอุตุนิยมวิทยา  ฝึกซ้อมการป้องกันภัยพิบัติ  เตรียมอุปกรณ์ยังชีพ ในยามฉุกเฉิน  ซ่อมแซมอาคารให้แข็งแรง  ชาวประมงงดออกเรือใน ช่วงที่มีพายุ

14 ภูเขาไฟปะทุ สาเหตุภูเขาไฟปะทุ
 มีการสะสมของความร้อน อย่างมากบริเวณนั้น ทำให้มี แมกมา ไอน้ำ และแก๊สสะสม ตัวอยู่มากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่ง ก่อให้เกิดความดัน ความร้อน สูง เมื่อถึงจุดหนึ่งมันจะ ระเบิดออกมา

15

16 แนวทางป้องกันและระวังภัยจากภูเขาไฟปะทุ
 เตรียมเสบียง ยารักษาโรค เครื่องใช้ ที่จำเป็น รวมทั้งเครื่องมือสื่อสาร  ติดตามข่าวสารจากศูนย์เตือนภัย และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  ไม่ควรหลบอยู่ในอาคาร สิ่งก่อสร้าง เพราะอาจถล่มลงมาจากแผ่นดินไหว หรือเถ้าภูเขาไฟ

17 ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นฉับพลัน

18 คลื่นสึนามิ สาเหตุการเกิดสึนามิ  การปะทุของภูเขาไฟใกล้มหาสมุทร  การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใต้ทะเล  การเกิดแผ่นดินถล่มใต้ทะเลหรือใกล้ฝั่ง  แผ่นดินไหวรุนแรงใต้ท้องทะเล  การเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลก  การพุ่งชนของอุกกาบาตขนาดใหญ่ในมหาสมุทร

19 แนวทางป้องกันและระวังภัยจากคลื่นสึนามิ
 ปลูกป่าชายเลนเพื่อลดความรุนแรงของคลื่น  ศึกษาหาความรู้และเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับสึนามิ  ถ้าระดับน้ำทะเลบริเวณชายหาดลดลงอย่างรวดเร็ว ไม่ควรลงไปที่ชายหาด  ติดตามข่าวสารและปฏิบัติตามประกาศเตือนของหน่วยงานต่างๆ

20 แผ่นดินไหว สาเหตุการเกิดแผ่นดินไหว
 การเคลื่อนที่ของขอบรอยต่อของแผ่นเปลือกโลก  ภูเขาไฟปะทุ  การสร้างเขื่อนขนาดใหญ่  การสูบน้ำใต้ดินมาใช้มากเกินไป  การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใต้ดิน

21

22 แนวทางป้องกันและระวังภัยจากแผ่นดินไหว
 กำหนดนโยบายการสร้างอาคาร ให้สามารถรับแรงแผ่นดินไหว  ศึกษาคู่มือภัยแผ่นดินไหว  ติดตามข้อมูลข่าวสารการเตือนภัย  ฝึกซ้อมการรับมือกับแผ่นดินไหว


ดาวน์โหลด ppt ภัยธรรมชาติและการระวังภัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google