งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
ศูนย์ประสานงานโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ

2 โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด 2553-2563
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ความเป็นมา พ.ศ ลงนามในสัญญาความร่วมมือกวาดล้างโปลิโอ พ.ศ เริ่มระบบเฝ้าระวัง ผู้ป่วยที่มีอาการอัมพาตกล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียกอย่างเฉียบพลัน (Acute Flaccid Paralysis) พ.ศ เริ่มรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอทั่วประเทศประจำปี ซึ่งต่อมาลดเป้าหมายลงเหลือเฉพาะกลุ่มเสี่ยง พ.ศ รายงานผู้ป่วยโปลิโอรายสุดท้าย พ.ศ องค์การอนามัยโลกเข้าตรวจสอบการดำเนินงานกวาดล้างโปลิโอในประเทศไทย ผลเป็นที่น่าพอใจ

3 พ.ศ. 2553 กระทรวงสาธารณสุขตกลงเห็นด้วยกับข้อเสนอ การกำจัดโรคหัด ซึ่งเป็นหัวข้อปรึกษาหารือ ร่วมกับประเทศอื่นในภูมิภาคในการประชุม World Health Assembly 2010 กระทรวงสาธารณสุข อนุมัติแผนดำเนินโครงการ กวาดล้างโปลิโอและโรคหัด พ.ศ และ ให้กรมควบคุมโรคเป็นหน่วยงานประสานงาน มี กรมต่างๆ ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมการแพทย์ และ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

4 วัตถุประสงค์การดำเนินการ
รักษาสถานะปลอดโรคโปลิโอในประเทศไทย ลดอุบัติการณ์การเกิดโรคหัดในประเทศไทยลงเหลือไม่เกิน 1 รายต่อประชากรหนึ่งล้านคนในปี (ไม่เกิน 5 รายต่อประชากรหนึ่งล้านในปี 2558) 1 2

5 เป้าหมายการดำเนินงานใน 5 ปีแรก (2553-2558)
การกวาดล้างโปลิโอ ให้วัคซีนโปลิโอตามระบบปกติ อย่างน้อย 3 ครั้ง ในเด็กอายุครบ 1 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในทุกตำบล เฝ้าระวังค้นหาผู้ป่วย AFP ให้ได้ไม่น้อยกว่า 2 ต่อแสนประชากรเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี รายจังหวัด และเก็บอุจจาระส่งตรวจตามเกณฑ์ 14 วันหลังวันเกิดอาการอัมพาต สอบสวนและควบคุมโรคผู้ป่วย AFP กลุ่มเสี่ยงสูงตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 (สอบสวนทุกรายภายใน 48 ชั่วโมง และควบคุมโรคในรายที่กำหนดภายใน 72 ชั่วโมงหลังพบผู้ป่วย) รณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอแก่เด็กในพื้นที่เสี่ยงทั่วประเทศ ให้ได้ความครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในตำบลที่ดำเนินการ 1 2 3 4

6 Polio case and OPV3 coverage, Thailand, 1961 - 2011
OPV in EPI in 1977 ประเทศไทยไม่มีโปลิโอมาตั้งแต่ปี 2540 (1997) และเราดำเนินการตามมาตรการกวาดล้างโปลิโอมาโดยตลอด รวมทั้งการรณรงค์ให้วัคซีนประจำปีซึ่งองค์การอนามัยโลกให้เป็น option The last case 1997 NID 1994 sNID 2000

7

8 กลุ่มเป้าหมายในการรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ
ประเภทที่ 1 เด็กที่อาศัยอยู่ในพื้นที่พิเศษมีความยากลำบากในการให้วัคซีนตามแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในระบบปกติ หรือ มีการการเคลื่อนย้ายประชากรสูง ประเภทที่ 2 เด็กที่อาศัยอยู่ในอำเภอที่ติดชายแดนพม่า ประเภทที่ 3 เด็กที่อาศัยอยู่ในอำเภอที่มีชุมชนชาวพม่าขนาดใหญ่ ประเภทที่ 4 เด็กที่อาศัยอยู่ในอำเภอที่มีรายงานการเกิดโรคคอตีบ หรือ หัด โดยพิจารณาผู้ป่วย เฉพาะในกลุ่มอายุต่ำกว่า 5 ปี รายอำเภอ ใช้ข้อมูล 3 ปี ย้อนหลัง (พ.ศ ) ถ้าพบผู้ป่วยคอตีบตั้งแต่ 1 รายขึ้นไป หรือผู้ป่วยหัดตั้งแต่ 10 รายขึ้นไป ในปีใดปีหนึ่ง ถือเป็นดัชนีชี้วัดปัญหาความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในพื้นที่

9 Polio Situation: Trouble in Africa,
Outbreak in China, Last case in India

10 Rukhsar: Is she the last polio case in India?
Onset 13 January 2011

11 การกำจัดโรคหัด เพิ่มและรักษาระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนหัด ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในทุกพื้นที่ จัดตั้งเครือข่ายการตรวจเชื้อหัดทางห้องปฏิบัติการที่ได้รับการรับรองมาตรฐานทั่วประเทศ เฝ้าระวังผู้ป่วยโรคหัด โดยมีการตรวจยืนยันเชื้อก่อโรคทางห้องปฏิบัติการในผู้ป่วยที่สงสัยโรคหัด ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ในทุกพื้นที่ รณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด หรือมาตรการเสริมอื่น เช่น การบริการวัคซีน ในประชากรวัยทำงาน เพื่อเพิ่มระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในประชากรกลุ่มเสี่ยง 1 2 3 4

12 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี และหญิงมีครรภ์ พ. ศ
ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี และหญิงมีครรภ์ พ.ศ. 2542, 2546, 2551 Vaccine BCG DTP OPV HB Measles JE JE DTP DTP T2 (or booster) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12

13 จำนวนผู้ป่วยโรคหัดในประเทศไทย พ.ศ.2514 – 2554
ก่อนเริ่มโครงการกำจัดโรคหัด วินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการร้อยละ 2 เริ่มให้ M เด็ก 9-12 เดือน เริ่มให้ M นักเรียน ป.1 ให้ MMR แทน M ในนักเรียน ป.1 จำนวนผู้ป่วย การระบาดมีแนวโน้มลดลงหลังมีการให้วัคซีนหัดในปี พ.ศ.2527 และเพิ่มวัคซีนหัดเข็ม2 ในปี พ.ศ ในเด็กชั้น ป.1 แต่มีการระบาดเพิ่มมากขึ้นในปี พ.ศ.2551 ในปัจจุบันอัตราป่วยอยู่ประมาณ 10 ต่อแสน ยังสูงกว่าเป้าหมาย ของการกำจัดโรคหัด (ปี 2563) ที่ 1 ต่อล้านมาก อย่างไรก็ตามต้องคำนึงด้วยว่าผู้ป่วยหัดส่วนใหญ่ของเรา เป็นการวินิจฉัยโดยใช้อาการทางคลีนิค ข้อมูลเฝ้าระวังโรค รง 506


ดาวน์โหลด ppt โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google