ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยBanlue Bunnag ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ติดตั้งอุปกรณ์เครือข่าย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เรื่องกำหนด โปรโตคอลที่ต้องการใช้ในเครือข่าย ครูปนัดดา กองมนต์ รายวิชา อินเทอร์เน็ตและการสร้างเว็บ 1 โรงเรียนศรี สำโรงชนูปถัมภ์ จังหวัดสุโขทัย
2
เนื้อหา ความหมายของ โปรโตคอล โปรโตคอลที่สำคัญที่พบ ได้บ่อย ในระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ โปรโตคอล (Protocol ) IP Address, Subnetwork การตรวจสอบ IP Address
3
โปรโตคอ ล (Protocol) การเชื่อมโยงเครือข่ายที่มี ฮาร์ดแวร์ต่างกันจำเป็น ต้องกำหนดข้อตกลงร่วม ความหมายของ (Protocol ) เรียกว่า โปรโตคอล ( protocol ) ซึ่งการกำหนด Protocol มีไว้เพื่อให้ คอมพิวเตอร์สื่อสารกันตาม ข้อกำหนด
4
โปรโตคอ ล (Protocol) 1. โปรโตคอล TCP/IP ( ทีซีพี / ไอ พี ) โปรโตคอลที่สำคัญที่พบได้บ่อยใน ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2. โปรโตคอล IPX / SPX ( ไอพี เอ็ก / เอสพีเอส ) 3. โปรโตคอล NetBEUI ( เน็ตบีอียู ไอ )
5
TCP/IP เป็นโปรโตคอลที่นิยมใช้ในการ ติดต่อสื่อสารระหว่างเครือข่ายและ เป็นโปรโตคอลหลักของเครือข่าย อินเตอร์เน็ต 1. โปรโตคอล TCP/IP ( ทีซีพี / ไอพี ) เป็นโปรโตคอลที่เหมาะสำหรับ เครือข่ายขนาดใหญ่ และเป็น โปรโตคอลที่เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เลือกใช้ ดังนั้นเครือข่ายอื่นๆ ที่จะติดต่อ กับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตต้องมี โปรโตคอลนี้ด้วย
6
IPX / SPX เป็นการรวม 2 โปรโตคอลเข้าด้วยกัน เพื่อให้เป็นโปรโตคอลหลักในการ ติดต่อสื่อสาร ในเครือข่ายที่ใช้ ระบบปฏิบัติการเครือข่าย NetWare 2. โปรโตคอล IPX / SPX ( ไอพีเอ็ก / เอสพีเอส ) IPX (InterNetwork Packet Exchange) ใช้ในการส่งข้อมูล ระหว่างอุปกรณ์ที่อยู่ในเครือข่าย ต่างกัน เมื่อโปรโตคอล IPX ส่งข้อมูล โปรโตคอลนี้จะไม่มีการตรวจสอบ ความผิดพลาดในการส่งข้อมูล
7
IPX / SPX SPX (Sequenced Packet Exchange) เป็นโปรโตคอลที่ขยาย ความสามารถของโปรโตคอล IPX 2. โปรโตคอล IPX / SPX ( ไอพีเอ็ก / เอสพีเอส ) ( ต่อ ) เมื่อโปรโตคอล SPX ส่งข้อมูล มันจะเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์สอง เครือข่ายและคอยตรวจสอบการส่ง ข้อมูล เหมือนกับการรับประกันว่าการส่ง ข้อมูลไม่มีการผิดพลาด
8
NetBEUI เป็นโปรโตคอลที่ใช้เครือข่ายเล็กๆ ที่ใช้ระบบ ปฏิบัติการของไมโครซอฟต์ 3. โปรโตคอล NetBEUI ( เน็ตบีอียู ไอ ) เป็นโปรโตคอลขนาดเล็กที่มี ประสิทธิภาพสูง เนื่องจากไม่ต้องการ หน่วยความจำและพลังการประมวลใน การทำงานมาก ทำให้ NetBEUI สามารถส่ง ข้อมูลได้เร็วกว่าโปรโตคอลอื่น ๆ แต่โปรโตคอลนี้ไม่สามารถใช้ใน เครือข่ายบริเวณกว้างได้
9
IP Address เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดอยู่บน อินเตอร์เน็ตก็เปรียบคล้าย ๆ กับ เครื่องโทรศัพท์ที่มีเบอร์เฉพาะตัว ซึ่งก็จะมีเพียงเบอร์เดียวในโลก IP Address (Internet Protocal) address IP Address เป็นตัวเลขที่ผู้ดูแลระบบ กำหนดขึ้นมา จะไม่ซ้ำกันถ้าอยู่ในเครือข่ายเดียวกัน และใช้ตัวเลข 4 ชุด แต่ละชุดใช้ 8 บิต ( รวม 32 บิต ) อ้างอิงค่าได้ 0 ถึง 255 ในแต่ละชุด 0.0.0.0 – 255.255.255.255
10
IP Address เป็นตัวเลขขนาด 32 บิต แบ่ง ออกเป็น 4 ชุด ๆ ละ 8 บิต ดังนั้นตัวเลข 1 ชุดที่เราเห็นคั่นด้วยจุดนั้น จึงแทนได้ ด้วยตัวเลขจาก 0 ถึง 255 ตัวเลข 4 ชุดนี้จะถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ Network Number และส่วนของ Host Number โดยขนาดของแต่ละส่วนจะใหญ่หรือเล็กขึ้นอยู่กับว่า เครื่องคอมพิวเตอร์นั้นอยู่ในเน็ตเวิร์ค Class ใด ซึ่ง Class ของเน็ตเวิร์คแบ่งออกเป็น 4 Classes ดังนี้ IP Address (Internet Protocal) address 0.0.0.0 – 255.255.255.255
11
IP address ประกอบด้วยเลขฐานสอง 32 หลัก ดังนั้นในแต่ละหลักของคลาส แบบต่างๆ ของ IP address จะเป็นดังนี้ IP Address (Internet Protocal) address > คลาส A 0NNNNNNN.nnnnnnnn.nnnnnnnn.nnnnnnn n > คลาส B 10NNNNNN.NNNNNNNN.nnnnnnnn.nnnnnn nn > คลาส C 110NNNNN.NNNNNNNN.NNNNNNNN.nnnn nnnn > คลาส D 1110nnnn.nnnnnnnn.nnnnnnnn.nnnnnnnn > คลาส E 1111nnnn.nnnnnnnn.nnnnnnnn.nnnnnnnn N คือหมายเลขเครือข่าย (Network address) n คือหมายเลขอุปกรณ์เครือข่าย (Host address)
12
IP Address (Internet Protocal) address 1. Class A 0NNNNNNN.nnnnnnnn.nnnnn nnn.nnnnnnnn Class A เป็นเน็ตเวิร์คขนาดใหญ่ ระดับประเทศ ระดับโลก มี Network Number ตั้งแต่ 1.0.0.0 ถึง 127.0.0.0 นั่นคือใน Class นี้จะมีส่วนของ Host Number ถึง 24 บิต ซึ่งอนุญาตให้มีจำนวนเครื่องได้ 1.6 ล้าน เครื่องใน 1 เน็ตเวิร์ค ซึ่งจะมีเน็ตเวิร์คขนาดใหญ่แบบนี้ได้เพียง 127 เน็ตเวิร์คเท่านั้น
13
IP Address (Internet Protocal) address 1. Class A 0NNNNNNN.nnnnnnnn.nnnnn nnn.nnnnnnnn ขึ้นต้นหลัก แรก ด้วยค่า 0 7 หลักต่อมาเป็น หมายเลขเครือข่าย (Network address) 1 ถึง 126 (126 ตำแหน่ง ) 24 หลักต่อมาเป็น หมายเลขอุปกรณ์ เครือข่าย (Host address) 0.0.1 ถึง 255.255.254 ( 16,777,214 ตำแหน่ง )
14
IP Address (Internet Protocal) address 2. Class B 10NNNNNN. NNNNNNNN.nnnnnnnn.nnnnnn nn เป็นเน็ตเวิร์คขนาดกลาง บริษัท มหาวิทยาลัย มี Network number ตั้งแต่ 128.0.0.0 ถึง 191.255.0.0 นั่นคือใน Class นี้มีส่วนของ Network Number 16 บิต และส่วนของ Host Number ได้ 16 บิต ทำให้มีจำนวนเน็ตเวิร์คได้ถึง 16320 เน็ตเวิร์ค และ 65024 Host
15
IP Address (Internet Protocal) address 2. Class B 10NNNNNN. NNNNNNNN.nnnnnnnn.nnnnnnn n ขึ้นต้น 2 หลักแรก ด้วยค่า 10 14 หลักต่อมาเป็น หมายเลขเครือข่าย (Network address) 128.0 ถึง 191.255 ( 16,384 ตำแหน่ง ) 16 หลักต่อมาเป็น หมายเลขอุปกรณ์ เครือข่าย (Host address) 0.1 ถึง 255.254 ( 65,534 ตำแหน่ง )
16
IP Address (Internet Protocal) address 3. Class C 110NNNNN. NNNNNNNN.NNNNNNNN.nnnnnnn n เป็นเน็ตเวิร์คขนาดเล็ก มี Network Number ตั้งแต่ 192.0.0.0 ถึง 223.255.255.0 นั่นคือใน Class นี้มีส่วนของ Network Number 24 บิต และส่วนของ Host Number 8 บิต ทำให้มีจำนวนของเน็ตเวิร์คได้ถึง 2 ล้าน เน็ตเวิร์คและมีจำนวน Host ในแต่ละเน็ตเวิร์คเท่ากับ 254 Hosts
17
IP Address (Internet Protocal) address 3. Class C 110NNNNN. NNNNNNNN.NNNNNNNN.nnnnn nnn ขึ้นต้น 3 หลักแรก ด้วยค่า 110 21 หลักต่อมาเป็น หมายเลขเครือข่าย (Network address) 192.0.0 ถึง 223.255.255 ( 2,097,152 ตำแหน่ง ) 8 หลักต่อมาเป็น หมายเลขอุปกรณ์ เครือข่าย (Host address) 1 ถึง 254 ( 254 ตำแหน่ง )
18
IP Address (Internet Protocal) address 4. Class D 1110nnnn.nnnnnnnn.nnnnnn nn.nnnnnnnn เป็นส่วนที่เก็บรักษาไว้สำหรับใช้ในอนาคต สำหรับส่งข้อมูลแบบ Multicast ( ไม่มีการใช้งาน จริง ) มี IP Address ตั้งแต่ 244.0.0.0 ถึง 254.0.0.0
19
IP Address (Internet Protocal) address 5. Class E 1111nnnn.nnnnnnnn.nnnnnn nn.nnnnnnnn สำรองไว้เพื่อการพัฒนา
20
Subnet work Subnetwork หรือ Subnet คือการแบ่ง IP Address ออกเป็นเครือข่ายย่อยๆ เนื่องจากการแบ่งจำนวนเครือข่ายย่อย และจำนวน อุปกรณ์เครือข่าย ในแต่ละคลาสไม่เท่ากัน ดังนั้นจึงต้องมีตัวช่วยเพื่อใช้แบ่งว่า IP Address ส่วนใดที่ใช้เป็น ตำแหน่งเครือข่าย (Network address) และส่วนใดใช้เป็น ตำแหน่งอุปกรณ์ เครือข่าย (Host address) ซึ่งตัวช่วยดังกล่าวเราจะ เรียกว่า Subnet mark
21
Subnet work Subnet mark ของแต่ละคลาสจะเป็นดังนี้ > คลาส A 255.0.0.0 > คลาส B 255.255.0.0 > คลาส C 255.255.255.0 เมื่อเรารู้ IP Address และ Subnet mark เราก็ สามารถหาตำแหน่งเครือข่าย (Network Address) และตำแหน่งอุปกรณ์เครือข่าย (Host Address) ได้ ไม่ยาก
22
การตรวจสอบ IP Address คลิกที่ปุ่ม Start 1
23
การตรวจสอบ IP Address
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.