งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

KM : การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "KM : การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 KM : การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
MAHIDOL UNIVERSITY Wisdom of the Land KM : การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย แนวคิด ทฤษฎี และบทเรียนสู่ภาคปฏิบัติ วิจารณ์ พานิช บรรยายในโครงการบรรยายให้ความรู้ เรื่อง “KM เติมเต็ม R2R : เสริมพลังภารกิจประจำสู่ 1 ใน 100 มหาวิทยาลัยโลก” ณ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๑

2 งานประจำ : เรื่องไม่ธรรมดา
โอกาสสร้างตัว/เรียนรู้ – บุคคลเรียนรู้ โอกาสสู่ LO – Learning Organization มี SS – Success Stories – สุดยอดความรู้ มี SP – Success Person – ผู้รู้ในการปฏิบัติ จุดเริ่มต้นของการ “เดินทาง”

3 ฝันอันยิ่งใหญ่ คน งาน หน่วยงาน ความรู้ ความสัมพันธ์ KM งานประจำ R

4 R2R (Routine to Research) คืออะไร
การวิจัยที่ดำเนินการโดยผู้ปฏิบัติ โจทย์วิจัยมาจากงานประจำ เพื่อพัฒนางานประจำ ผลลัพธ์ดูที่ผลต่อ “ลูกค้า” การนำผลวิจัยไปใช้ ปย. – ใช้พัฒนางานประจำ การทำ Routine Development ให้ Evidence-Based เครื่องมือพัฒนาคน ไม่มีนิยามตายตัว

5 ทำให้งานเป็นเครื่องมือสู่ความสุข ปัญญา และไมตรี
R2R : หวังผลอะไร พัฒนางานประจำ พัฒนาคนระดับปฏิบัติการ พัฒนาองค์กร วัฒนธรรมองค์กร สู่องค์กรเรียนรู้ องค์ความรู้ขององค์กร ยกระดับขึ้น ทำให้งานเป็นเครื่องมือสู่ความสุข ปัญญา และไมตรี

6 ผู้เกี่ยวข้องกับ R2R : 4 ฝ่าย
ผู้ปฏิบัติ ฝ่ายจัดการ R2R ฝ่ายบริหารองค์กร หน่วยสนับสนุน/เชื่อมโยงเครือข่ายระดับประเทศ : สวรส. ไม่มีสูตรตายตัว องค์กรขนาดเล็ก/ใหญ่ จัดการต่างกัน

7 ผู้ปฏิบัติ รวมตัวกัน คิดหาทางปรับปรุงงานอยู่ตลอดเวลา
อ่านวารสารวิชาการ ทำ J Club : เพิ่ม ค. เชิงทฤษฎี ฝึกตั้งโจทย์วิจัย เรียนรู้ R Methodology, Data Management, วิธีทำโปสเตอร์เสนอผลงาน, Oral Presentation, วิธีเขียน manuscript เพื่อตีพิมพ์ จัดทีมวิจัย แบ่งโจทย์ แบ่งหน้าที่กัน โจทย์วิจัย -> Routine Data Management รวมตัวกันตั้งวง SSS : วิธีตั้งโจทย์ วิธีออกแบบการวิจัย วิธีเก็บข้อมูล วิธีวิเคราะห์ วิธีสังเคราะห์ วิธีเขียนรายงาน ฯลฯ

8 ทีมจัดการ R2R หน้าที่ Change Management “คุณอำนวย” (Facilitator)
Coach / Trainer ช่วยให้เอาชนะความกลัว/หลงผิด จัดเวทีชี้โจทย์ / ลปรร. วิธีการ/ความสำเร็จ สังเคราะห์องค์ความรู้ Communicate กับฝ่ายบริหาร ทำ R2P/R2A

9 ทีมจัดการ R2R (2) ทำให้ R2R เป็นความสุข ไม่ใช่ความทุกข์/ภาระ
ส่งเสริมตามศักยภาพ Dynamism ตาม/เฉพาะ กลุ่ม จัดการปลายทาง สร้างผลกระทบต่อ คน งาน องค์กร

10 ฝ่ายบริหารองค์กร ชื่นชมผลสำเร็จ ตั้งคำถามเชิงผลกระทบ ที่เหยาะ น้ำ ทิพย์ความชื่นชม สนับสนุนทรัพยากรอย่างเหมาะสม สนับสนุนทีม “คุณอำนวย” คอย capture R2P นำไปใช้เปลี่ยน SOP ในองค์กร ขอทราบ/เผยแพร่ ผลกระทบจาก R2R บรรจุในรายงานประจำปี ทำให้ R2R เป็น investment ไม่ใช่ cost

11 ฝ่ายบริหารองค์กร ชื่นชมผลสำเร็จ ตั้งคำถามเชิงผลกระทบ ที่เหยาะ น้ำ ทิพย์ความชื่นชม สนับสนุนทรัพยากรอย่างเหมาะสม สนับสนุนทีม “คุณอำนวย” คอย capture R2P นำไปใช้เปลี่ยน SOP ในองค์กร ขอทราบ/เผยแพร่ ผลกระทบจาก R2R บรรจุในรายงานประจำปี ทำให้ R2R เป็น investment ไม่ใช่ cost จัดการคุณค่า

12 หน่วยสนับสนุนระดับประเทศ : สวรส.
สร้างกระแส R2R ด้วยมาตรการเชิงบวก จัดมหกรรม R2R แห่งชาติ ประจำปี : 2-3 ก.ค. 51 มิราเคิล เสาะหาผลงานเด่น ในหลากหลายด้าน/บริบท เชื้อเชิญมา ลปรร. จัด ลปรร. ผู้ปฏิบัติ / คุณอำนวย / ผู้บริหาร ยกย่องผลงานเด่น เผยแพร่เคล็ดลับ ส่งเสริมการจัดฝึกอบรมเทคนิค ให้ scholarship แก่ผู้แสดงท่าว่าเอาจริง Capture โจทย์วิจัยต่อยอดผลงาน R2R ในเรื่องที่ Impact ต่อสังคมสูง ประกาศให้ทุน Capture ผลกระทบต่อระบบสุขภาพ (จัดการคุณค่า)

13 หน่วยสนับสนุนระดับประเทศ : UKM
นอกเหนือจากด้านสุขภาวะ เครือข่าย ลปรร. SS ยังไม่ได้ใช้พลังของ ICT ยังไม่ได้ใช้พลังของการจัดการ SS & AI ยังมองแค่ R2R ในระดับ micro / หน่วยงานเล็กๆ

14 แนวทางจัดการในองค์กร
ไม่มีสูตรสำเร็จตายตัว Structured vs. Unstructured Proactive vs. Supportive Management Result-oriented vs. Culture Change oriented Integrate อยู่กับการจัดการงานวิจัยทั่วไป vs. แยกการจัดการ เริ่มต้นที่การกำหนดเป้าหมาย แล้วจัดระบบ มีวิธีจัดการให้เชื่อมโยงกับภารกิจหลัก & การจัดการทั่วไป

15 แนวทางจัดการในองค์กร (2)
ยังไม่ได้ใช้ ICT ยังไม่ได้ใช้ SSS / AI / Reward บน ICT ยังไม่ได้จัด Directed & Multi-Center R2R

16 R2R ไม่ได้ลอยอยู่โดดๆ เชื่อมโยงกับ การพัฒนาคุณภาพ HRD สร้างคน
UM – Utilization Management Corporate Culture Development การแข่งขัน ร่วมมือ ความสำเร็จขององค์กร

17 R2R ไม่ได้ลอยอยู่โดดๆ (2)
เชื่อมโยงกับเครื่องมืออื่น Bio-social Research Qualitative Research Action Research KM CQI TQA

18 ใช้ KM ส่งเสริม R2R R2R ศิริราชมีประสบการณ์ตรง ใช้ SST – SSS
ใช้เครื่องมือ Storytelling / Appreciative Inquiry / Dialogue / Note-Taking หมุน “เกลียวความรู้” เกี่ยวกับ R2R/R ด้วย SECI

19 ความรู้ 2 ยุค ยุคที่ 1 ยุคที่ 2 โดยนักวิชาการ ค. เฉพาะสาขา
เน้นเหตุผล พิสูจน์ได้ เป็นวิทยาศาสตร์ ค. เฉพาะสาขา เน้น explicit K ยุคที่ 2 โดยผู้ปฏิบัติ เน้นประสบการณ์ตรง เน้นผลลัพธ์ที่งาน คน ค. บูรณาการ เน้น tacit K เสริมกัน วิจัย KM

20 ต้องรู้จักใช้ ค. ทั้งสองประเภท อย่างสมดุล
ความรู้ 2 ประเภท ค. ในคน Tacit K อยู่ในสมองคน เชื่อมโยงกับประสบการณ์ ความเชื่อ ค่านิยม ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาได้ทั้งหมด context - specific ค. ในกระดาษ Explicit/Codified K อยู่ในตำรา เอกสาร วารสาร คู่มือ คำอธิบาย วีซีดี คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต ฐานข้อมูล. context - free ต้องรู้จักใช้ ค. ทั้งสองประเภท อย่างสมดุล ค. เป็นทั้ง TK & EK

21

22 การสร้างความรู้ ๒ แนว วิจัย จค. ปัญหา ความ สำเร็จ ความรู้

23 จากความรู้ปฏิบัติ สู่ความรู้เชิงทฤษฎี
R R KM ปัญหา EK TK ความสำเร็จ ในหลายบริบท R data ใช้ทฤษฎีเข้าจับ วิเคราะห์ สังเคราะห์ เป็น generic knowledge

24 ตัวอย่าง : โรงเรียนชาวนา
นักวิจัย EK TK ผลิตข้าวปลอดสารพิษ ลปรร. data collection, analysis, synthesis capture, apply, share, store, leverage, etc.

25 ตัวอย่าง : การลดเวลาสื่อสาร
นักวิจัย เจ้าหน้าที่ EK TK ลดเวลา … ลปรร. data collection, analysis, synthesis capture, apply, share, store, leverage, etc.

26 สรุป KM R2R CQI/HRD/CCD Big Dream ใช้ความสำเร็จ ต่อยอดความสำเร็จ
มีการจัดการแบบ Empowerment


ดาวน์โหลด ppt KM : การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google