ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKaranyapat Panomyaong ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
แนะนำตัว นางสาวกุสุมา มากชูชิต ชื่อเล่น จูน รหัสนักศึกษา 5510610168 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร นักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะทรัพยากรธรรมชาติ ปีการศึกษา 2556 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2
2 แผนแม่บทอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ยาง ปี 2545-2549 สศอ. ให้ ม. มหิดลจัดทำแผนแม่บทอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางเพื่อ เป็นแนวทาง / แผนปฏิบัติการในการพัฒนา กำหนดวิสัยทัศน์ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางเป็นอุตสาหกรรมหลักของประเทศ สามารถทำ รายได้ให้ประเทศได้ อย่างยั่งยืน อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางไทยจะขยายใหญ่ขึ้นจน เป็นผู้นำ ในการส่งออกผลิตภัณฑ์ ยางของโลกในระยะ 10 ปีข้างหน้า เป้าหมายของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง 1. ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กมีความเข้มแข็ง สามารถ แข่งขันได้ในระดับสากล 2. มีการใช้ยางธรรมชาติในประเทศเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 10 ต่อปี และมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์ยางเพิ่มเฉลี่ยร้อยละ 10 ต่อปี เช่นกัน
3
แผนแม่บทอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง ปี 2545- 2549 สศอ. ให้ ม. มหิดลจัดทำแผนแม่บทอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ยางเพื่อเป็นแนวทาง / แผนปฏิบัติการในการ พัฒนา กำหนดวิสัยทัศน์ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางเป็นอุตสาหกรรมหลัก ของประเทศ สามารถทำ รายได้ให้ประเทศได้อย่าง ยั่งยืน อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางไทยจะขยายใหญ่ ขึ้นจนเป็นผู้นำในการส่งออกผลิตภัณฑ์ยางของโลกใน ระยะ 10 ปีข้างหน้า
4
เป้าหมายของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง 1. ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กมีความ เข้มแข็ง สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล 2. มีการใช้ยางธรรมชาติในประเทศเพิ่มขึ้นเฉลี่ย ร้อยละ 10 ต่อปี และมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์ยาง เพิ่มเฉลี่ยร้อยละ 10 ต่อปี เช่นกัน
5
การจัดทำแผนพัฒนายางพาราไทย ( พันธกิจ ข้อที่ 3) กระทรวงเกษตรฯ แต่งตั้งคณะกรรมการศึกษาการปฏิรูประบบการพัฒนา ยางพาราไทย ( มี รมช. เกษตรฯ เป็นประธาน เมื่อวันที่ 28 ส. ค. 2545 เพื่อ แก้ไขปัญหายางพาราได้อย่างมีระสิทธิภาพ จึงได้กำหนดแนวทางการปฏิรูป ระบบการพัฒนายางพาราไทย ประกอบด้วย 9 พันธกิจ คณะกรรมการฯ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ กำหนดรูปแบบงานโครงการและ งบประมาณ รวมทั้งแหล่งรายได้ เพื่อจัดทำแผนเสนอ ระยะเวลา 5 ปี (2546- 2550) พันธกิจประกอบด้วย 1. ปฏิรูประบบและสถาบันการจัดการยางใหม่ 2. ยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และใช้ประโยชน์จากสวนยางเต็มที่ 3. ทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ยางที่ได้มาตรฐาน 4. ปฏิรูประบบการวิจัยและพัฒนายาง 5. ปฏิรูประบบตลาดยางทุกด้าน 6. สร้างฐานข้อมูลยางพาราให้ครบถ้วน ถูกต้อง และเชื่อถือได้ 7. สร้างเมืองยาง (rubber city) เพื่อให้เป็นศูนย์กลางของผลิตภัณฑ์ยางพารา 8. ส่งเสริมให้เกษตรกรและวิสาหกิจมีส่วนร่วมทุกด้าน 9. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคธุรกิจมีส่วนร่วมในทุกด้าน 5
6
การจัดทำแผนพัฒนายางพาราไทย ( พันธกิจ ข้อ ที่ 3) กระทรวงเกษตรฯแต่งตั้งคณะกรรมการศึกษาการ ปฏิรูประบบการพัฒนายางพาราไทย ( มีรมช. เกษตรฯ เป็นประธานเมื่อวันที่ 28 ส. ค.2545 เพื่อแก้ไขปัญหา ยางพาราได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้กำหนดแนว ทางการปฏิรูประบบการพัฒนายางพาราไทย ประกอบด้วย 9 พันธกิจ คณะกรรมการฯ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการกำหนด รูปแบบงานโครงการและงบประมาณรวมทั้งแหล่ง รายได้ เพื่อจัดทำแผนเสนอ ระยะเวลา 5 ปี (2546- 2550)
7
พันธกิจประกอบด้วย 1. ปฏิรูประบบและสถาบันการจัดการยางใหม่ 2. ยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และใช้ประโยชน์จากสวน ยางเต็มที่ 3. ทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ยางที่ได้มาตรฐาน 4. ปฏิรูประบบการวิจัยและพัฒนายาง 5. ปฏิรูประบบตลาดยางทุกด้าน 6. สร้างฐานข้อมูลยางพาราให้ครบถ้วน ถูกต้อง และเชื่อถือ ได้ 7. สร้างเมืองยาง (rubber city) เพื่อให้เป็นศูนย์กลางของ ผลิตภัณฑ์ยางพารา 8. ส่งเสริมให้เกษตรกรและวิสาหกิจมีส่วนร่วมทุกด้าน 9. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคธุรกิจมีส่วนร่วมในทุกด้าน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.