ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยAkkanee Ornlamai ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
2
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ ตรวจทางรังสีวิทยา 5. ระยะเวลาการรอคอย ระยะเวลารายงานผลที่เหมาะสม 7. การอธิบายผลการตรวจแก่ ผู้ป่วย 6. แนวทางการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากการตรวจ
3
8. ความพร้อมในการช่วยเหลือ ผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน 9. การทบทวนการใช้ทรัพยากร ในการตรวจทางรังสีวิทยา เช่น ฟิล์มด้อยคุณภาพ 11. การเฝ้าระวังการปนเปื้อน รังสีของบุคลากร 10. ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ ของบุคลากรที่ให้บริการ 7. การใช้ผลการตรวจในการวาง แผนการรักษาผู้ป่วย
4
1. การป้องกันการแพร่กระจาย เชื้อกรณีผู้ป่วยติดเชื้อทางเดิน หายใจมารับบริการ 3. การติดเชื้อของเจ้าหน้าที่ / การได้วัคซีนป้องกันโรค 2. การเฝ้าระวังการติดเชื้อ เนื่องจากการใช้อุปกรณ์การ ตรวจร่วมกัน
5
1. การจัดทำบัญชีความเสี่ยง พร้อมแนวทางป้องกัน 2. การรายงานอุบัติการณ์ 4. การประสานของหน่วยงาน กับทีมนำความเสี่ยง 5. วิธีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก 3. ความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดใน รอบปีพร้อมการทบทวนเพื่อหา แนวทางปฏิบัติ เช่น ผู้ป่วยเกิด ภาวะแทรกซ้อนจากการตรวจ, การค้นหาฟิล์มเก่าไม่พบ
6
1. การจัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการ ดูแลผู้ป่วย 2. ความสะดวก สะอาด ปลอดภัย ของอาคารสถานที่ 3. ระบบสำรองฉุกเฉิน น้ำ ไฟฟ้า ออกซิเจน 6. การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน 4. ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย 5. ความพร้อมและความพอเพียง ของเครื่องมือ 7. การตรวจสอบ เครื่องเอกซเรย์ตามระยะเวลาที่ เหมาะสม
7
1. การกำกับการใช้และการใช้ ยาในกลุ่มยาเสพติด 2. การบริหารยาในกลุ่ม High drug alert 4. การบริหารยาค้าง stock 3. การเฝ้าระวังความ คลาดเคลื่อนทางยา
8
1. การพัฒนา / การออกแบบ เวชระเบียน 2. ความถูกต้อง สมบูรณ์ของ การบันทึกเวชระเบียน 4. การเก็บบันทึกผลการตรวจ รักษาความลับในเวชระเบียน 5. การสื่อสารระหว่างสหวิชาชีพ ในเวชระเบียน 3. การนำเวชระเบียนไปใช้ ประโยชน์ในการทบทวน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.