ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSinn Sivaraksa ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการประกอบวงจรเสียงไซเรนตำรวจ
โดยใช้เทคนิคการสอนแบบนิรนัยของนักเรียนระดับปวช.2 สาขางานอิเล็กทรอนิกส์ ที่เรียนรายวิชาวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ผู้เสนอ นางสาวจุฑามาศ ทัศนะศร สาขาวิชา ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
2
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
เนื่องจากนักเรียน นักศึกษามีความสนใจและกระตือรือร้นในการปฏิบัติงานมาก แต่ถ้าสอนเนื้อหาทฤษฎีก่อนจะไม่ค่อยสนใจเท่าไหร่ ครูผู้สอนจึงเปลี่ยนแนวการสอนใหม่ตามความสนใจของนักเรียนคือนำเทคนิคการสอนแบบนิรนัย คือ ปฏิบัติงานตามลำดับขั้นตอนที่กำหนดให้จนแสดงผลได้ก่อนแล้วค่อยอธิบายหลักการและทฤษฎีว่าเพราะอะไรจึงมีการแสดงผลตามการประลองหรือประกอบวงจร เพื่อให้นักเรียนระดับ ปวช.2 สาขาอิเล็กทรอนิกส์ ที่เรียนรายวิชาวงจรอิเล็กทรอนิกส์มีความกระตือรือร้นที่เห็นการแสดงผลและตั้งใจศึกษาหลักการว่าเกิดจากการทำงานของอุปกรณ์ใดและอย่างไรบ้าง
3
วัตถุประสงค์งานการวิจัย
1. เพื่อพัฒนาทักษะการประกอบวงจรเสียงไซเรนตำรวจของนักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาอิเล็กทรอนิกส์ ที่เรียนรายวิชาวงจรอิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้เทคนิคการสอนแบบนิรนัย
4
ระดับการประเมินผลการปฏิบัติงาน
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล รายการที่ใช้ประเมิน N=40 ระดับการประเมินผลการปฏิบัติงาน ลำดับที่ S.D. 𝐱 1. การประกอบวงจร-การบัดกรี 0.66 4.66 มากที่สุด 1 2. ความเรียบร้อยของบอร์ด ด้านTopและBottom 0.37 4.45 มาก 3 3. วงจรทำงานได้ตามที่กำหนด 0.42 4.49 2 รวม 0.48 4.53 𝑥
5
จากตารางที่ 5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการประกอบวงจรเสียงไซเรนตำรวจ มีผลการประเมินตามลำดับจากมากไปหาน้อย ตามค่าเฉลี่ยจากเกณฑ์ที่กำหนด เป็นดังนี้คือ การประกอบวงจร-การบัดกรี(4.66) อยู่ในระดับ มากที่สุด,วงจรทำงานได้ตามที่กำหนด(4.49) อยู่ในระดับ มาก,ความเรียบร้อยของบอร์ด ด้านTopและBottom(4.45) อยู่ในระดับ มาก
6
รายการที่ใช้ประเมิน N=40 ระดับความพึงพอใจ 4.4 มาก รวม
หมายเหตุ S.D 𝑥 ความพึงพอใจการประกอบวงจรเสียงไซเรนตำรวจ 0.19 4.4 มาก รวม จากตารางที่ 6 พบว่าการวิเคราะห์ผลการประเมินความพึงพอใจการประกอบวงจรเสียงไซเรนตำรวจมีผลการประเมินอยู่ในระดับ มาก 𝑥
7
สรุปผล ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการประกอบวงจรเสียงไซเรนตำรวจ มีผลการประเมินตามลำดับจากมากไปหาน้อย ตามค่าเฉลี่ยจากเกณฑ์ที่กำหนด เป็นดังนี้คือ การประกอบวงจร-การบัดกรี(4.66) อยู่ในระดับ มากที่สุด,วงจรทำงานได้ตามที่กำหนด(4.49) อยู่ในระดับ มาก,ความเรียบร้อยของบอร์ด ด้านTopและBottom(4.45) อยู่ในระดับ มาก การวิเคราะห์ผลการประเมินความพึงพอใจการประกอบวงจรเสียงไซเรนตำรวจ(4.4) มีผลการประเมิน อยู่ในระดับ มาก
8
สะท้อนความเห็นของผู้วิจัย
จากผลข้อมูลทางสถิติทำให้ทราบถึงการพัฒนาหรือแนวโน้มที่เกิดขึ้นต่อผู้เรียนรายวิชาวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ผู้สอนพอใจมากที่เลือกแบบประกอบวงจรเสียงไซเรนตำรวจโดยใช้เทคนิคการสอนแบบนิรนัย ในการสอนแบบปฏิบัติการเมื่อเห็นความกระตือรือร้นของกลุ่มประชากรเป้าหมายในการเรียนการสอน
9
ภาพประกอบ รูปที่ 1 การประกอบและทดสอบวงจรเสียงไซเรนตำรวจ
10
ผู้อำนวยการวรรณา ตันประภัสร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้สนับสนุนการวิจัย ผู้อำนวยการวรรณา ตันประภัสร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี สถานศึกษารับรางวัลพระราชทาน 2 ครั้งต่อเนื่อง ระดับอาชีวศึกษาขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ วิสัยทัศน์ มุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศและความเป็นสากล ปรัชญา มาตรฐานดี กิจกรรมเด่น เน้นวินัย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.