งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่
กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่ สำนักความรับผิดทางแพ่ง

2 ความเป็นมา พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 ระเบียบ ว่าด้วย ความรับผิดชอบของข้าราชการในทางแพ่ง พ.ศ. 2503 ปัจจุบัน เดิม

3 พรบ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
คำนิยามที่สำคัญ เจ้าหน้าที่ หน่วยงานของรัฐ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ การทำละเมิดต่อเอกชน (บุคคลภายนอก) การทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ

4 การทำละเมิดต่อเอกชน/ บุคคลภายนอก

5 การทำละเมิดต่อเอกชน/บุคคลภายนอก
กรณีเจ้าหน้าที่กระทำในการปฏิบัติหน้าที่ กรณีเจ้าหน้าที่กระทำนอกเหนือการปฏิบัติหน้าที่ หน่วยงานของรัฐรับผิด/ถูกฟ้อง แทนเจ้าหน้าที่ ฟ้องกระทรวงการคลัง (ม.5) ความรับผิด ทางละเมิดของหน่วยงาน ของรัฐ หน่วยงานของรัฐไม่ต้องรับผิด /ถูกฟ้อง (ม.6)

6 กรณีละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่-รัฐเสียหาย
1 รถราชการเสียหาย/สูญหาย รถคว่ำ(ไม่มีคู่กรณี)/ รถชนกัน /รถถูกโจรกรรม ทรัพย์สินราชการ ชำรุดเสียหาย/ถูกโจรกรรม ทุจริตยักยอกเงินของทางราชการ เพลิงไหม้ การจัดซื้อ/จัดจ้าง เบิกจ่ายเงินราชการไม่ถูกต้องตาม กม./ระเบียบ คดีขาดอายุความ : สัญญา/สิทธิเรียกร้อง 2 3 4 5 6 7

7 กรณีละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่-บุคคลภายนอกเสียหาย
รถยนต์เฉี่ยวชน/เกิดอุบัติเหตุ รถยนต์บุคคลภายนอก เสียหาย บุคคลภายนอกเสียหาย (บาดเจ็บ/ตาย) การรักษาพยาบาล เช่น แพ้ยา จ่ายยาให้คนไข้ผิดคน ให้เลือดคนไข้ผิดกลุ่มเลือด แพทย์ทำหมันโดยไม่บอกคนไข้

8 ตัวอย่างการละเมิดที่มิใช่เป็นการปฏิบัติหน้าที่
1. นำรถราชการไปใช้ส่วนตัว แล้ว - รถคว่ำ (ไม่มีคู่กรณี)/รถชนกัน /รถถูกโจรกรรม - รถชนบุคคลภายนอก ตาย/บาดเจ็บ 2.นำทรัพย์สินราชการไปใช้ส่วนตัวแล้ว - ชำรุดเสียหาย/สูญหาย - ถูกโจรกรรม - ลักทรัพย์สินทางราชการ 3. การรักษาพยาบาล ที่ทำส่วนตัว

9

10

11 การทำละเมิดต่อเอกชน/บุคคลภายนอก (ต่อ)
ฟ้องเจ้าหน้าที่ / หน่วยงานของรัฐ ฟ้องผิด ฟ้องใหม่ได้ ภายใน 6 เดือน อายุความการใช้สิทธิ 1 ปี / 10 ปี (ป.พ.พ. ม.448) สิทธิการดำเนินคดีของผู้เสียหาย Company Logo

12 การทำละเมิดต่อเอกชน/บุคคลภายนอก (ต่อ)
การร้องขอให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ผู้เสียหาย หน่วยงานของรัฐ มาตรา 5 ออกใบรับคำขอเป็นหลักฐาน พิจารณาภายใน 180 วัน ขยายไม่เกิน 180 วัน (รายงาน ร.ม.ต.) Company Logo

13 การทำละเมิดต่อเอกชน/บุคคลภายนอก (ต่อ)
ประมาท 1. เจ้าหน้าที่ กระทำโดยจงใจ/ประมาท เลินเล่ออย่างร้ายแรง (ม.8 วรรค 1) 2. คำนึงถึงความร้ายแรงแห่งการกระทำ และความเป็นธรรม (ม.8 วรรค 2) สิทธิไล่เบี้ย ของหน่วยงานของรัฐ 3. หักส่วนความเสียหาย (ม.8 วรรค 3) 4. ไม่นำหลักเรื่องลูกหนี้ร่วมมาใช้บังคับ (ม.8 วรรค 4) จงใจ ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง Company Logo

14 การกระทำ ที่มิได้กระทำโดยเจตนา
“ประมาท” การกระทำ ที่มิได้กระทำโดยเจตนา 1 2 แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจะต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ 3 และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่ Company Logo

15 “ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง”
มีลักษณะไปในทางที่บุคคลนั้น ได้กระทำ ไปโดยขาดความระมัดระวัง 1 2 ที่เบี่ยงเบนไปจากเกณฑ์มาตรฐานอย่างมาก เช่น พึงคาดเห็นได้ว่าความเสียหายอาจเกิดขึ้นได้ หรือ หากระมัดระวังสักเล็กน้อย ก็คงคาดเห็น การอันอาจเกิดความเสียหายเช่นนั้น (ที่ นร 0601/87 ลงวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2540) ตัวอย่าง Company Logo

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28 รูปถ่ายรถตู้พยาบาลและรถคู่กรณี
ด้านหน้ารถยนต์ตู้พยาบาล รถยนต์คู่กรณี ด้านหลังรถยนต์ตู้พยาบาล

29 แผนที่เกิดเหตุ รถตู้พยาบาล รถคู่กรณี

30 รูปถ่ายสถานที่เกิดเหตุ


ดาวน์โหลด ppt กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google