ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ระบบลงทะเบียนบุคคลพิการขาขาด
2
กรอบแนวคิด ยุทธศาสตร์บูรณาการทำงานร่วมกัน 2 ระยะคือ ระยะเร่งรัด มี 4 มาตรการคือ 1.ให้ผู้พิการที่ยังไม่มีขาเทียม ลงทะเบียนผ่านระบบสารสนเทศ เพื่อใช้สิทธิได้ง่ายด้วยตนเอง 2.ค้นหาคนพิการในทุกหมู่บ้านทุกชุมชน โดยให้ อสม.ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อลงทะเบียนและจัดทำขาเทียมครบ 100 เปอร์เซ็นต์ภายในปี 2559 3.เพิ่มศักยภาพการผลิตขาเทียมให้ได้มากกว่า 16,000 ชิ้นต่อปี โดยให้ สธ.กระทรวงการคลัง และ สปสช.จัดงบประมาณเป็นเงินทุนประเดิมกระตุ้นและสนับสนุนให้โรงงานผลิตกายอุปกรณ์ทั่วประเทศ 124 แห่ง ซึ่งอยู่ในสังกัด สธ.103 แห่ง และหน่วยงานอื่นๆ 21 แห่ง ในการจัดหาเครื่องจักรและวัสดุอุปกรณ์ในการผลิตเพื่อรองรับความต้องการได้ในระยะเวลาอันสั้น 4.ให้กรมบัญชีกลาง สำนักงานประกันสังคม และ สปสช.เร่งรัดปรับบัญชีกายอุปกรณ์ เพื่อให้ผู้พิการทั้ง 3 กองทุน มีสิทธิเบิกจ่ายค่ากายอุปกรณ์ต่างๆ ได้อย่างเท่าเทียมกัน และจัดทำงบประมาณประจำในการจัดซื้อขาเทียม งบบำรุงซ่อมแซม หรือทดแทนใหม่ เนื่องจากขาเทียมมีอายุใช้งานโดยเฉลี่ย 3 ปี
3
ระบบการลงทะเบียนคนพิการขาขาด
Web Portal บูรณาการฐานข้อมูลคนพิการ ตรวจสอบสิทธิ ฐานทะเบียน คนพิการขาขาด ลงทะเบียนผู้พิการ อบต. + หน่วยบริการ OP+IP ICD10 ที่มีความพิการ ICD 9 ที่มีการใส่ขาเทียม ฐานทะเบียนผู้มิสิทธิ ฐานการเบิกอุปกรณ์ สปสช. ศูนย์สิรินธร ส่ง case ไปยัง หน่วยบริการที่เลือก อำนวยความสะดวกในการลงทะเบียนหากพบว่า ยังไม่มีสิทธิใน - ผู้พิการ ท.74 (สปสช.) - คนพิการ (พม.) สสจ. ทำการสำรวจเพิ่มเติม
4
ตรวจสอบข้อมูลบุคคลจากบัตรประชาชนหรือใช้เลข 13 หลัก
5
ลงทะเบียนเลือกรพ.ที่จะใส่ขาเทียมโดยตรวจสอบข้อมูลว่า เคยลงทะเบียนหรือยัง หากเคยรับบริการแล้ว ให้แสดงประวัติบนระบบ
6
หากไม่เคยลงทะเบียน ระบบจะแสดงหน้าจอให้ลงรายละเอียดความพิการ และเลือกรพ
หากไม่เคยลงทะเบียน ระบบจะแสดงหน้าจอให้ลงรายละเอียดความพิการ และเลือกรพ.รักษา
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.