งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี
นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว

2 แนวคิด การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นกระบวนการ
ที่ต้องการลดหรือขจัดปัจจัยเสี่ยงที่มีผล กระทบต่อสภาวะสุขภาพของคนให้หมดไป

3 กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การค้นหากลุ่มเสี่ยง การวิเคราะห์และกำหนดปัจจัยเสี่ยง กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

4 แนวคิดและทฤษฎีทางพฤติกรรมสุขภาพ
- แบบจำลองความเชื่อด้าน สุขภาพ - การมีส่วนร่วมของชุมชน - PRECEDE Framework

5 สภาพปัญหาที่พบ ปัจเจก ไม่ทราบสุขภาวะตนเอง ครอบครัว
ไม่ทราบปัจจัยเสี่ยงของคน ใกล้ชิด ชุมชน วางแผนไม่สอดคล้องกับ ภาวะสุขภาพ

6 ทำอย่างไรจึงจะทำ ให้... ปัจเจก ทราบสุขภาวะตนเอง
รับรู้ปัจจัยเสี่ยงของตนเอง ครอบครัว ทราบปัจจัยเสี่ยงของคนใกล้ชิด ชุมชน วางแผนได้สอดคล้องกับสภาพปัญหา เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชน ชุมชนเอื้ออาทร

7 วิธีการ ขั้นตอนการค้นหากลุ่มเสี่ยง
- จัดหน่วยบริการตรวจสุขภาพเคลื่อนที่ - สร้างกระแสให้เกิดความตื่นตัวใช้รถมาตกแต่งให้เป็นสี เหลืองและมีอุปกรณ์ครบเพื่อเป็นรถเคลื่อนที่ครบทุก อำเภอ - ใช้หลักเศรษฐศาสตร์เข้ามาช่วยในการจ้างงานบุคลากร ชั่วคราวเพื่อลดค่าใช้จ่ายระยะยาว

8 วิธีการ ขั้นตอนการวิเคราะห์และกำหนดปัจจัยเสี่ยง
- พัฒนาโปรแกรมบันทึกข้อมูลตรวจสุขภาพ - แจ้งผลการตรวจสุขภาพให้ทราบโดยทันที - ให้คำแนะนำการปฏิบัติตนที่เกิดผลดีต่อ สุขภาพ

9 วิธีการ ขั้นตอนกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- จำแนกปัจจัยเสี่ยงและวิเคราะห์เชิงระบาดวิทยา - นำข้อมูลสภาวะสุขภาพของประชาชนในเขต รับผิดชอบเสนอองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นเพื่อทราบ และพิจารณาหาแนวทางแก้ไข - จัดทำแผนพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยง

10 กลยุทธ์ในการขับเคลื่อนกระบวนการ
ทีมงานมีศักยภาพ (อัตราการเข้าถึงบริการตรวจสุขภาพ %) ชาวบ้านได้เรียนรู้ (สนใจเข้ารับการตรวจ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม) ปลุกกระแสการดูแลสุขภาพ (โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 30 โครงการ) เกิดการทำงานแบบมีส่วนร่วม (ชาวบ้าน ผู้นำชุมชน อสม. บุคลากรสาธารณสุข) ชักชวน อบต.ให้ลงขัน (งบประมาณ,อำนวยความสะดวกในการตรวจ) มุ่งสร้างสรรค์ ชุมชนเอื้ออาทร

11 BMI เส้นรอบเอว BP Cholesterol FBS
ผอม 7.49% ปกติ 77.92% ท้วม 12.30% อ้วน 2.29% เส้นรอบเอว ปกติ 85.48% เสี่ยง 14.52% BP ปกติ 86.57% เสี่ยง 7.58% สูง 5.63% สูงมาก 0.22% Cholesterol ปกติ 92.10% เสี่ยง 7.84% สูง 0.06% FBS ปกติ 86.42% เสี่ยง 9.49% สูง 4.09%

12 ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ
ใช้การจัดการความรู้เป็นกระบวนการดำเนินงาน หน่วยตรวจสุขภาพเชิงรุกมีผลทำให้ประชาชนเข้าถึงบริการครอบคลุมมากยิ่งขึ้น

13 ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ
3. การพัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลที่ง่าย สะดวกในการใช้และสามารถแปรผลได้อย่างรวดเร็วทำให้ผู้รับบริการเกิดความสนใจเนื่องจากทราบผลตรวจทันทีและได้รับคำแนะนำที่เหมาะสมเป็นประโยชน์แก่ตนเองมากยิ่งขึ้น

14 ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ
4. ผู้บริหารให้ความสนใจในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพและกำหนดเป็นนโยบายของจังหวัด 5. การดำเนินงานแบบรวมพลังเชิงรุกทำให้เกิดความร่วมมือด้านทรัพยากร เงินและอุปกรณ์จากหน่วยงานในชุมชน

15 กิจกรรมที่จะดำเนินการต่อ
- การค้นหาปัจจัยเสี่ยง/กลุ่มเสี่ยง - จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงของชุมชนกำหนดเป้าหมายให้ดำเนินการโดยศูนย์สุขภาพชุมชนทุกแห่งอย่างน้อยแห่งละ 1 หมู่บ้าน - จัดเวทีแลกเปลี่ยนการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน

16 ปัญหาอุปสรรค 1. ประชาชนไม่อยู่ในพื้นที่ เช่น ไปทำงานต่างจังหวัด
2. นโยบายการจัดสรรงบประมาณส่งเสริมสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงของสำนักงานหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามีผลกระทบต่อระบบการบริหารจัดการ

17 ปัญหาอุปสรรค 3. การตรวจสุขภาพเป็นการค้นหาปัจจัยเสี่ยงที่จำเป็นต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องทุกปีเพื่อให้เกิดเป็นวิถีชีวิตในการดูแลสุขภาพของตนเอง ถ้าระบบงบประมาณมีการเปลี่ยนแปลงย่อมเกิดผลกระทบต่อการให้บริการได้

18


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google