ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChaloem Khumpai ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
กลุ่มวัยเรียน 28 สิงหาคม 2557 โรงแรมลีการ์เด้น พลาซ่า หาดใหญ่ จ. สงขลา โดย แพทย์หญิงนภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล ผู้อำนวยการสำนักโภชนาการ
2
เด็กไทยเติบโตสมวัย สมองดี คิดดี มีความสุข
กรอบแนวคิด เด็กไทยเติบโตสมวัย สมองดี คิดดี มีความสุข เริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกินร้อยละ 10 ส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนร้อยละ 70 ความชุกโรคฟันผุไม่เกินร้อยละ 50 IQ เฉลี่ย ไม่ต่ำกว่า 100 ร้อยละ 70 มี EQ ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์ การเสียชีวิตจากการจมน้ำ ≤ 6.5 ต่อแสน สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อ พัฒนาและสร้างความตระหนักแก่บุคลากร พัฒนาคุณภาพอาหาร ขนม และเครื่องดื่ม พัฒนาศักยภาพภาคี ค้นหากลุ่มเสี่ยง พัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยี มาตรฐาน สนับสนุนการจัดบริการในพื้นที่ พัฒนาระบบเฝ้าระวัง นิเทศ ติดตาม ประเมินผล การเข้าถึงบริการสุขภาพ ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคใน โรงเรียน และชุมชน ภาคีเครือข่าย ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และทิศทางการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มวัยเรียน ร.ร.ลีการ์เด้น พลาซ่า จ.สงขลา 28 ส.ค. 57
3
ปัญหาการเจริญเติบโตของเด็กวัยเรียน
4
ภาวะอ้วนของเด็กอายุ 6 – 12 ปี
แบ่งตามขนาดปัญหา The Best (ภาวะอ้วน < 8 %) General (ภาวะอ้วน %) The Bad (OFI) (ภาวะอ้วน > 10 %) เขต (ร้อยละ) 5 7.3 1 9.3 3 11.3 7 7.8 2 9.4 4 12.3 8 6.3 9 8.7 6 12.4 - 10 9.1 12 11.1 11 รวม 3 เขต รวม 5 เขต รวม 4 เขต หมายเหตุ : Opportunity For Improvement (OFI) ( เขต 3 นครสวรรค์, เขต 4 สิงห์บุรี, เขต 6 สมุทรปราการ, เขต 12 สงขลา) พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และทิศทางการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มวัยเรียน ร.ร.ลีการ์เด้น พลาซ่า จ.สงขลา 28 ส.ค. 57
5
ปัญหาที่พบในเขตพื้นที่ The Bad (OFI)
ภาวะอ้วนในเขตเมืองสูงกว่าเขตอำเภออื่น ๆ ระบบข้อมูล : ขาดคุณภาพ และความครอบคลุม : ไม่มีการส่งต่อข้อมูลภาวะอ้วนให้กับรพ.สต. เพื่อแก้ไขปัญหา : จนท.ในพื้นที่ขาดทักษะการใช้โปรแกรมเฝ้าระวังการเจริญเติบโต ไม่มีแผนการจัดการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมด้านอาหาร โภชนาการ ในและรอบรั้วโรงเรียน การเข้าถึงแหล่งอาหารของนักเรียน แผนการดำเนินงานแก้ไขปัญหาภาวะอ้วนในพื้นที่ไม่ชัดเจนทั้งระดับจังหวัดและCUP และขาดการบูรณาการทั้ง โรงเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ไม่มีแผนการแก้ไขปัญหาในช่วงเด็กปิดเทอม และการติดตามผลที่บ้าน ขาดการวิเคราะห์หาสาเหตุที่แท้จริง พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และทิศทางการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มวัยเรียน ร.ร.ลีการ์เด้น พลาซ่า จ.สงขลา 28 ส.ค. 57
6
แนวทางการแก้ไขปัญหา ปรับปรุงคุณภาพระบบข้อมูลด้านโภชนาการ
จัดแผนการดำเนินงานแก้ไขปัญหาภาวะอ้วนในโรงเรียน ตามบริบทของพื้นที่ พัฒนาคุณภาพอาหาร อาหารว่าง นม ขนม และเครื่องดื่ม ในและรอบรั้วโรงเรียนให้ได้มาตรฐานโภชนาการ ปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเข้าถึงแหล่งอาหารที่ทำให้เกิดภาวะอ้วน สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างความตระหนักให้กับบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เฝ้าระวังติดตามเป็นระยะ พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และทิศทางการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มวัยเรียน ร.ร.ลีการ์เด้น พลาซ่า จ.สงขลา 28 ส.ค. 57
7
เป้าหมาย ไม่เกินร้อยละ 50
ความชุกการเกิดโรคฟันผุ ในเด็กอายุ 12 ปี พ.ศ. 2556 เป้าหมาย ไม่เกินร้อยละ 50 ที่มา :เฝ้าระวังทันตสุขภาพ สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย
8
ปัญหา IQ EQ ของเด็กวัยเรียน
พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และทิศทางการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มวัยเรียน ร.ร.ลีการ์เด้น พลาซ่า จ.สงขลา 28 ส.ค. 57
10
KPI ระดับจังหวัด (นักเรียนในโรงเรียน)
แผนงานบูรณาการกลุ่มวัยเรียน ปี 2558 KPI ระดับกระทรวง เด็กนักเรียนเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกินร้อยละ 10 IQ เฉลี่ย ≥100 และร้อยละ 70 มี EQ ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (ปี 2559) อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรเด็กแสนคน จากการจมน้ำของเด็ก (อายุต่ำกว่า 15 ปี ) ≤ 6.5 KPI ระดับเขตสุขภาพ 1.จำนวนโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 95 2.จำนวนโรงเรียนที่ดำเนินกิจกรรมผ่านเกณฑ์ KPI ระดับจังหวัด ทุกด้าน ร้อยละ 40 3.จำนวนการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็ก (อายุต่ำกว่า 15 ปี ) ลดลงตามเกณฑ์ในแต่ละพื้นที่เสี่ยง KPI ระดับจังหวัด (นักเรียนในโรงเรียน) เด็กนักเรียนได้รับการประเมิน/แก้ไขภาวะโภชนาการ ร้อยละ 100 - เด็กนักเรียนมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนร้อยละ 70 เด็กนักเรียนและเยาวชนในพื้นที่ทุรกันดารมีโรคหนอนพยาธิ ไม่เกิน ร้อยละ 8 เด็ก ป. 1 ทุกคนได้รับการตรวจสายตาและการได้ยิน โดยร้อยละ 80 ของเด็กที่มีปัญหาได้รับการช่วยเหลือแก้ไข รพช. มีระบบเฝ้าระวังปัญหา IQ EQ ร้อยละ 70 รพ.สต./รพช.ให้บริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกันแก่นักเรียนชั้น ป 1 และ ป 6 ร้อยละ 50 ร้อยละ 75 โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม ลูกอมและควบคุมขนมกรุบกรอบ เครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของน้ำตาล และจัดกิจกรรมฝึกทักษะการแปรงฟันนักเรียน จำนวนการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ลดลงตามเกณฑ์ในแต่ละพื้นที่เสี่ยง เสี่ยงมาก ร้อยละ 20 เสี่ยงปานกลาง ร้อยละ 10 เสี่ยงน้อย อย่างน้อยปีละ 1 คน
11
การดำเนินงานสนับสนุนของกรมต่างๆ
1) National Lead (งปม ล้าน) การขับเคลื่อนโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โดยความร่วมมือ ของ partnership ระหว่าง กระทรวง ศธ กับ สธ และ ภาคส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้อง 2) Model Development (งปม ล้าน) -มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพตามแนวทางบูรณาการ -พัฒนาเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตของเด็กวัยเรียน -พัฒนาต้นแบบ จากThe Best /แก้ปัญหาให้พื้นที่ -การพัฒนาและ R&D 3) Technology Transfer (งปม ล้าน) หลักสูตร/คู่มือการดำเนินงานสำหรับบุคลากร วิทยากรในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ /ถอดบทเรียน 4) M&E, Problem Solving, Evaluation (งปม. 4.0 ล้าน) นิเทศ ติดตาม ประเมินผลเชิงคุณภาพ /QAโดย สมศ 5) Surveillance (งปม ล้าน) พัฒนาระบบเฝ้าระวังร่วมกับเขตบริการสุขภาพ พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และทิศทางการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มวัยเรียน ร.ร.ลีการ์เด้น พลาซ่า จ.สงขลา 28 ส.ค. 57
12
ขอบคุณและสวัสดีค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.