ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยYongchaiyudh Chumphorn ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
2
2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอ 3. แนวทางการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากการบริจาค 1. การคัดกรองผู้บริจาคโลหิต 4. ความพร้อมในการช่วยเหลือ ผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน 5. ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ ของบุคลากรที่ให้บริการ 6. ฉลากที่สมบูรณ์สำหรับโลหิตที่ เจาะ 7. การตรวจโลหิตเพื่อประกันความ ปลอดภัย
3
8. ระบบการสำรองโลหิต 9. การตรวจสอบความถูกต้อง ก่อน การจำหน่ายโลหิต 10. การใช้ การเหลือใช้ของโลหิต 11. การดูแลคุณภาพของโลหิตนอก คลังเก็บโลหิต 12. การประสานอายุรแพทย์ในการ กำหนดข้อบ่งใช้โลหิต 13. การส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วย และญาติ 14. การดูแลและส่งเสริมสุขภาพ เจ้าหน้าที่
4
4. การติดเชื้อของเจ้าหน้าที่ / การได้วัคซีนป้องกันโรค 1. การเฝ้าระวังการติดเชื้อ เนื่องจากการใช้อุปกรณ์การ ตรวจร่วมกัน 3. การเฝ้าระวังการติดเชื้อจาก การบริจาคโลหิต 5. เครื่องมือปราศจากเชื้อ / การ ทำความสะอาดเครื่องมือ 2. การจัดการเลือดเหลือใช้ 6. การทิ้งโลหิต สิ่งส่งตรวจ อุปกรณ์
5
9. การติดเชื้อของเจ้าหน้าที่ / การได้วัคซีนป้องกันโรค 7. การลำเลียงขยะติดเชื้อและ ผ้าเปื้อน / เส้นทางลำเลียง 8. การใช้น้ำยาทำความสะอาด
6
1. การจัดทำบัญชีความเสี่ยง พร้อมแนวทางป้องกัน 2. การรายงานอุบัติการณ์ 4. การประสานของหน่วยงาน กับทีมนำความเสี่ยง 5. วิธีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก 3. ความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดใน รอบปีพร้อมการทบทวนเพื่อหา แนวทางปฏิบัติ เช่น ผู้ป่วยเกิด ภาวะแทรกซ้อนจากบริจาค โลหิต, โลหิตเหลือทิ้ง
7
1. การจัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการ ดูแลผู้ป่วย 2. ความสะดวก สะอาด ปลอดภัย ของอาคารสถานที่ 3. ระบบสำรองฉุกเฉิน ไฟฟ้า ระบบควบคุมอุณหภูมิ 4. ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย 5. ความพร้อมและความพอเพียง ของเครื่องมือ เช่น ตู้เย็นเก็บ รักษาโลหิต 6. การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
8
1. การพัฒนา / การออกแบบ เวชระเบียน 2. ความถูกต้อง สมบูรณ์ของ การบันทึกเวชระเบียน 4. การเก็บบันทึกผลการตรวจ รักษาความลับในเวชระเบียน 5. การสื่อสารระหว่างสหวิชาชีพ ในเวชระเบียน 3. การนำเวชระเบียนไปใช้ ประโยชน์ในการทบทวน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.