ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNiran Sangsorn ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
2
แลกเปลี่ยนประสบการณ์ จากเป็น สถานที่ฝึกการประเมินคุณภาพรอบ สาม ( สมศ.)
4
เตรียมความพร้อมด้านเอกสาร เพื่อให้ผู้ประเมินฝึกปฏิบัติ
5
สะท้อนผลการฝึกปฏิบัติจากเป็น สถานที่ฝึกการประเมินคุณภาพรอบ สาม ( สมศ.) การฝึกประเมินครั้งนี้ ของสมศ. เริ่มใช้ ประเมินกับ กศน. อำเภอปี 2556 มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ ที่สอดคล้อง มาตรฐาน กศน. 6 มาตรฐาน 26 ตัวบ่งชี้ มาตรฐาน สมศ. 4 มาตรฐาน 12 ตัวบ่งชี้ ในการประเมินคุณภาพรอบสาม เน้น คุณภาพ
6
คุณภาพ = ผลผลิต / ผลลัพธ์ - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ( ตบช.1-5) - ประสิทธิภาพ ( ตบช.6-7) - พัฒนา / ผลการพัฒนา ( ตบช.8-12)
7
หัวใจหลัก การฝึกปฏิบัติจากเป็น สถานที่ฝึกการประเมินคุณภาพรอบ สาม ( สมศ.) ที่จะนำมาประเมินครั้งนี้ ?
8
หัวใจกศ. พื้นฐาน - แผนการจัดการเรียนรู้ ( แผนรายภาค / ราย สัปดาห์ / บูรณาการ ) - บันทึกการเรียนรู้ ( บันทึกหลังสอน ) - ประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ - สมุดบันทึกความดี ( ผู้เรียน ) ฯลฯ
9
หัวใจกศ. ต่อเนื่อง - สรุปผลการจัดกิจกรรม ( อาชีพ ) 5 บท :40 ชม./ วิชา เช่น การสอนวิชาชีพ การนวดเพื่อสุขภาพ / การ ทำอาหารขนม / เครื่องปั้นดินเผา / การปลูกผักโฮ โดรโปนิค ฯลฯ หัวใจ กศ. ตามอัธยาศัย - แผนการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย - สรุปผลการจัดกิจกรรม 5 บท
10
ท้ายสุด ภาพรวมของหัวใจ ต้องมีและสอดคล้องกัน แผนพัฒนาคุณภาพ / แผนปฏิบัติงานประจำปี / แผนพัฒนาบุคลากร แผนการนิเทศ / แผนการ จัดกิจกรรม / รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.