ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก
ให้สุขศึกษาก่อนตรวจ ปัญชลิกา นาคคงคำ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก
2
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้รับบริการมีความรู้และทักษะเกี่ยวกับความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
3
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เพื่อให้สามารถให้สุขศึกษาเรื่องมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
4
ความสำคัญ การให้สุขศึกษาเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการให้บริการการป้องกันมะเร็ง การให้สุขศึกษาเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการตัดสินใจภายหลังทราบข้อมูลเกี่ยวกับการคัดกรอง และการรักษา (ถ้ามีข้อบ่งชี้)
5
การสร้างสัมพันธภาพ 1. การยิ้ม (Greeting)
2. การพูดคุยเรื่องทั่วไป (Small talk) 3. การใส่ใจ (Attending) 4. การเปิดประเด็น (Opening)
6
การใส่ใจ (Attending) S = Squarely การนั่งแบบมุมฉากไม่ประจันหน้า
O = Open ท่าทีเปิดเผยไม่ปิดกั้นตนเอง L = Lean การนั่งโน้มตัวไปข้างหน้าเล็กน้อย R = Relax ท่าทีผ่อนคลาย
7
คุณสมบัติ ให้ผู้มารับบริการให้มีส่วนร่วม
เป็นผู้ให้ข้อมูล ผู้อำนวยความสะดวก และผู้แก้ปัญหา กระตุ้นให้แสดงความคิดเห็น ค้นหาอุปสรรค
8
คุณสมบัติของผู้ให้คำปรึกษา (ต่อ)
เป็นผู้ฟังที่ดี รักษาความลับ ใช้ภาษาง่ายๆ ทบทวนประเด็นสำคัญ
9
ข้อควรคำนึง สิทธิของผู้มารับบริการ สิทธิที่จะรับรู้ข้อมูล
สิทธิที่จะเลือกวิธีรักษา สิทธิความเป็นส่วนตัว การรักษาความลับของผู้มารับบริการ
10
หัวข้อ อวัยวะภายในสตรี
ธรรมชาติของการติดเชื้อไวรัส HPV และมะเร็งปากมดลูก สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของมะเร็งปากมดลูก วิธีการป้องกันและการตรวจคัดกรอง ผลการตรวจ แนวทางการในการดูแลรักษา ความรู้สึกในขณะตรวจ ขั้นตอนในการตรวจ
11
ระหว่างการตรวจ ฟังผู้รับบริการ ทำให้ผู้รับบริการสบายมากที่สุด
สังเกตสีหน้า และภาษากาย กระตุ้นให้ผู้รับบริการให้บอกและถามคำถามที่กังวล ให้ความมั่นใจผู้รับบริการระหว่างการตรวจ
12
หลังการตรวจ ผลการตรวจ การรักษาและทางเลือก การนัดหมาย
อาการที่ควรมาก่อนนัดหมาย
13
อธิบายสิ่งที่จะกระทำ ถามว่ารู้สึกอย่างไร ให้ความมั่นใจแก่ผู้รับบริการ
สรุป ฟัง ดู อธิบายสิ่งที่จะกระทำ ถามว่ารู้สึกอย่างไร ให้ความมั่นใจแก่ผู้รับบริการ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.