ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กระทรวงสาธารณสุข & ทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน
โดย นพ.ศิริวัฒน์ ทิพย์ธราดล รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข การดำเนินงานในปี 2552 มีดังนี้ มค.52 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ทำโครงการ 365 วันอัตราย 19-20 สค. จัดสัมมนาระดับชาติเรื่องอุบัติเหตุจราจร มีนายกรัฐมนตรีไปเปิดการสัมมนา มีนโยบายสาธารณะ 6 ข้อ 29 กย. ครม.มีมติเห็นชอบกำหนดให้อุบัติเหตุทางถนนเป็นวาระแห่งชาติ และให้การรับรองแผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน ปี ของศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน และมอบให้กระทรวงสาธารสุขเป็นแกนประสานการพัฒนาระบบข้อมูลอุบัติเหตุทางถนนของประเทศ 16-18 ธค. สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 2 มีประเด็นเรื่องการแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนน ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสาธารณสุขคือ เรื่องการขอหรือต่อใบอนุญาตขับขี่ของผู้ขับขี่รถสาธารณะและเพื่อการพาณิชย์ควรมีการคัดกรองโรคหัวใจรุนแรง และให้ระบุไว้เป็นข้อหนึ่งในใบรับรองแพทย์ และ การลดระดับปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดสำหรับผู้ขับขี่ยานพาหนะทั่วไป ส่วนในรถโดยสารสาธารณะ ปริมาณแอลกอฮอล์ต้องเป็น 0 กระทรวงคมนาคมได้ดำเนินการไปแล้ว 19-20 พย. มีการประชุม 1st conference Global Minister on Road safety ที่กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย การดำเนินงานในปี 2553 มีดังนี้ - มค.53 กระทรวงคมนาคม ประกาศเป็นปีคมนาคมปลอดภัย 21-22 กพ. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ จัดการสัมมนา 2 มีค. UNGA ประกาศ Decade of action for Road Safety 20 เมย. ครม.รับหลักการให้มีการจัดตั้งคณะทำงานสืบสวนอุบัติเหตุในจังหวัด 23 เมย. มติ สช. - คกก.กระจายอำนาจให้แก่ อปท. เห็นชอบมติและมอบหมายให้แจ้งหน่วยงาน (๑๖ มิย. ๕๓) - อนุกรรมการขับเคลื่อนฯ ภายใต้ คกก.ขับเคลื่อน กำหนดให้เป็นประเด็นหนึ่งในการทำงานกับ อปท. 29 มิย. ครม.รับรองและประกาศปี เป็นทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน 7 กย. ครม.เห็นชอบในหลักการร่างระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน พ.ศ..... ขณะนี้อยู่ในระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมการตรวจสอบร่างกฎหมายและร่างอนุบัญญัติ 21-23 กย.การประชุมผู้เชี่ยวชาญระดับภูมิภาค UNESCAP เรื่องการดำเนินการเพื่อทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน 4-6 ตค. ประชุมกลุ่มความร่วมมือด้านความปลอดภัยทางถนนภายใต้กรอบองค์การสหประชาชาติ ครั้งที่ 12 ณ สมาพันธรัฐสวิส
2
สถานการณ์อุบัติเหตุทางถนน
อุบัติเหตุทางถนนเป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตบาดเจ็บ และพิการ ทั่วโลก (Global RTI, 2010) เสียชีวิต 1.27 ล้านคน 3,479 คน/วัน บาดเจ็บ 20 – 50 ล้านคน พิการ อย่างน้อย 5 ล้านคน การดำเนินงานในปี 2552 มีดังนี้ มค.52 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ทำโครงการ 365 วันอัตราย 19-20 สค. จัดสัมมนาระดับชาติเรื่องอุบัติเหตุจราจร มีนายกรัฐมนตรีไปเปิดการสัมมนา มีนโยบายสาธารณะ 6 ข้อ 29 กย. ครม.มีมติเห็นชอบกำหนดให้อุบัติเหตุทางถนนเป็นวาระแห่งชาติ และให้การรับรองแผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน ปี ของศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน และมอบให้กระทรวงสาธารสุขเป็นแกนประสานการพัฒนาระบบข้อมูลอุบัติเหตุทางถนนของประเทศ 16-18 ธค. สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 2 มีประเด็นเรื่องการแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนน ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสาธารณสุขคือ เรื่องการขอหรือต่อใบอนุญาตขับขี่ของผู้ขับขี่รถสาธารณะและเพื่อการพาณิชย์ควรมีการคัดกรองโรคหัวใจรุนแรง และให้ระบุไว้เป็นข้อหนึ่งในใบรับรองแพทย์ และ การลดระดับปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดสำหรับผู้ขับขี่ยานพาหนะทั่วไป ส่วนในรถโดยสารสาธารณะ ปริมาณแอลกอฮอล์ต้องเป็น 0 กระทรวงคมนาคมได้ดำเนินการไปแล้ว 19-20 พย. มีการประชุม 1st conference Global Minister on Road safety ที่กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย การดำเนินงานในปี 2553 มีดังนี้ - มค.53 กระทรวงคมนาคม ประกาศเป็นปีคมนาคมปลอดภัย 21-22 กพ. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ จัดการสัมมนา 2 มีค. UNGA ประกาศ Decade of action for Road Safety 20 เมย. ครม.รับหลักการให้มีการจัดตั้งคณะทำงานสืบสวนอุบัติเหตุในจังหวัด 23 เมย. มติ สช. - คกก.กระจายอำนาจให้แก่ อปท. เห็นชอบมติและมอบหมายให้แจ้งหน่วยงาน (๑๖ มิย. ๕๓) - อนุกรรมการขับเคลื่อนฯ ภายใต้ คกก.ขับเคลื่อน กำหนดให้เป็นประเด็นหนึ่งในการทำงานกับ อปท. 29 มิย. ครม.รับรองและประกาศปี เป็นทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน 7 กย. ครม.เห็นชอบในหลักการร่างระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน พ.ศ..... ขณะนี้อยู่ในระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมการตรวจสอบร่างกฎหมายและร่างอนุบัญญัติ 21-23 กย.การประชุมผู้เชี่ยวชาญระดับภูมิภาค UNESCAP เรื่องการดำเนินการเพื่อทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน 4-6 ตค. ประชุมกลุ่มความร่วมมือด้านความปลอดภัยทางถนนภายใต้กรอบองค์การสหประชาชาติ ครั้งที่ 12 ณ สมาพันธรัฐสวิส ประเทศไทย ปี 2552 (รายงานการบาดเจ็บ 19 สาเหตุ) เสียชีวิต 11,751 คน บาดเจ็บ 857,206 คน (สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค, 2552)
3
มค. มค 52 53 23 เมย. มติ สช. คสช. 29 กย. ครม.มีมติ
กำหนดวาระแห่งชาติ รับรอง แผนแม่บท ศปถ. มอบ สธ.ประสานข้อมูล 19-20 พย. 1st conference Global Minister on RS : Moscow 20 เมย. ครม. รับหลักการ การสืบสวนอุบัติเหตุ 29 มิย. ครม. รับรอง ทศวรรษความปลอดภัย 19-20 สค. จัดสัมมนาระดับชาติอุบัติเหตุจราจร 2 มีค UNGA Decade of action for RS 7 กย รับรอง/ปรับแก้ ระเบียบสำนักนายกฯ มค. 52 การดำเนินงานในปี 2552 มีดังนี้ มค.52 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ทำโครงการ 365 วันอัตราย 19-20 สค. จัดสัมมนาระดับชาติเรื่องอุบัติเหตุจราจร มีนายกรัฐมนตรีไปเปิดการสัมมนา มีนโยบายสาธารณะ 6 ข้อ 29 กย. ครม.มีมติเห็นชอบกำหนดให้อุบัติเหตุทางถนนเป็นวาระแห่งชาติ และให้การรับรองแผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน ปี ของศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน และมอบให้กระทรวงสาธารสุขเป็นแกนประสานการพัฒนาระบบข้อมูลอุบัติเหตุทางถนนของประเทศ 16-18 ธค. สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 2 มีประเด็นเรื่องการแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนน ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสาธารณสุขคือ เรื่องการขอหรือต่อใบอนุญาตขับขี่ของผู้ขับขี่รถสาธารณะและเพื่อการพาณิชย์ควรมีการคัดกรองโรคหัวใจรุนแรง และให้ระบุไว้เป็นข้อหนึ่งในใบรับรองแพทย์ และ การลดระดับปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดสำหรับผู้ขับขี่ยานพาหนะทั่วไป ส่วนในรถโดยสารสาธารณะ ปริมาณแอลกอฮอล์ต้องเป็น 0 กระทรวงคมนาคมได้ดำเนินการไปแล้ว 19-20 พย. มีการประชุม 1st conference Global Minister on Road safety ที่กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย การดำเนินงานในปี 2553 มีดังนี้ - มค.53 กระทรวงคมนาคม ประกาศเป็นปีคมนาคมปลอดภัย 21-22 กพ. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ จัดการสัมมนา 2 มีค. UNGA ประกาศ Decade of action for Road Safety 20 เมย. ครม.รับหลักการให้มีการจัดตั้งคณะทำงานสืบสวนอุบัติเหตุในจังหวัด 23 เมย. มติ สช. - คกก.กระจายอำนาจให้แก่ อปท. เห็นชอบมติและมอบหมายให้แจ้งหน่วยงาน (๑๖ มิย. ๕๓) - อนุกรรมการขับเคลื่อนฯ ภายใต้ คกก.ขับเคลื่อน กำหนดให้เป็นประเด็นหนึ่งในการทำงานกับ อปท. 29 มิย. ครม.รับรองและประกาศปี เป็นทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน 7 กย. ครม.เห็นชอบในหลักการร่างระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน พ.ศ..... ขณะนี้อยู่ในระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมการตรวจสอบร่างกฎหมายและร่างอนุบัญญัติ 21-23 กย.การประชุมผู้เชี่ยวชาญระดับภูมิภาค UNESCAP เรื่องการดำเนินการเพื่อทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน 4-6 ตค. ประชุมกลุ่มความร่วมมือด้านความปลอดภัยทางถนนภายใต้กรอบองค์การสหประชาชาติ ครั้งที่ 12 ณ สมาพันธรัฐสวิส 365 วันอันตราย สตช. มค 53 21-22 กพ. สัมมนา สตช. 2553 ปีคมนาคมปลอดภัย 16-18 ธค. สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 2 23 เมย. มติ สช. คสช. * คกก.กระจายอำนาจให้แก่ อปท. เห็นชอบมติและ มอบหมายให้แจ้งหน่วยงาน (๑๖ มิย. ๕๓) * อนุกรรมการขับเคลื่อนฯ ภายใต้คกก.ขับเคลื่อน กำหนดให้เป็นประเด็นหนึ่งในการทำงานกับ อปท.
4
ปฎิญญามอสโก Moscow Declaration
เมื่อวันที่ 2 มีนาคม สมัชชาสหประชาชาติจัด การประชุมครั้งที่ 64 ได้ให้การรับรองคำประกาศเจตนารมณ์ปฏิญญามอสโก และประกาศให้ปี พ.ศ เป็นทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน (Decade of Action for Road Safety) กำหนดเป้าหมายการลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนในระดับที่ท้าทายให้เหมาะสมกับบริบทของ แต่ละประเทศ กำหนดกรอบการทำงาน เป็นเสาหลักไว้ 5 ข้อ
5
A Framework for the Decade
National Activities Pillar 1 Road safety Management Pillar 2 Infra- structure Pillar 3 Safe Vehicles Pillar 4 Road safety user behavior Pillar 5 Post crash care Lead agency Strategy Targets Funding -Improved road design for all users -Road infrastructure rating - Global harmonization vehicles standard - All cars equipped with seat-belts -“Intelligents” vehicles - R&D safety for VRU -BAC Laws -Seat-belts &Child restraints -Motorcycles Helmet -Speed managements -ISO 39100 -Pre hospital care -Trauma care and rehabilitation -Quality Assurance
6
กรอบการดำเนินงานของ ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน
เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน คณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบ กำหนดให้ “ปี เป็นทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน (Decade of Action for Road Safety)” กำหนดเป้าหมายลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนต่ำกว่า 10 คน ต่อประชากรแสนคนในปี 2563 กำหนดกรอบการดำเนินงาน ไว้ 8 ข้อ
7
8 ประเด็นสำคัญ .. ที่นำมาขับเคลื่อน “ทศวรรษความปลอดภัยทางถนน”
การสวมหมวกนิรภัย 100 % การจัดการความเร็ว เมาแล้วขับ สมรรถนะผู้ใช้รถ ใช้ถนน (เช่น การออกใบอนุญาต ขับรถที่มีคุณภาพ) ยานพาหนะที่ได้มาตรฐานความปลอดภัย การจัดการจุดเสี่ยง การดูแลรักษา พัฒนาระบบบริหารจัดการ (กลไกนโยบาย ตัวชี้วัดข้อมูล ติดตาม-ประเมินผล วิจัย , พัฒนาบุคลากร)
8
แนวทางการดำเนินงานของ กระทรวงสาธารณสุข
ภารกิจหลัก : การพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน การรักษาและฟื้นฟูผู้บาดเจ็บ เพื่อให้เป็นไปอย่างทั่วถึงและรวดเร็ว การพัฒนาระบบข้อมูลอุบัติเหตุทางถนนให้มีความถูกต้องและเป็นเอกภาพ (ตามมติคณะรัฐมนตรีมอบหมายให้กระทรวงสาธารณสุขดำเนินการเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2552) ภารกิจรอง : กระทรวงสาธารณสุขร่วมดำเนินการกับหน่วยงานอื่นๆ ที่มีการบูรณาการแผนการดำเนินงานภายใต้ ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน ซึ่งมีประธาน เป็นรองนายกรัฐมนตรี (นายสุเทพ เทือกสุบรรณ)
9
แนวทางการดำเนินงานตามภารกิจของ กระทรวงสาธารณสุข โดยใช้ 6 กลยุทธ์
กลยุทธ์ที่ 1 การพัฒนาระบบบริการรักษาพยาบาล (หลัก) โดยเป็นองค์กรหลักในการให้บริการทางการแพทย์ครบวงจร ตั้งแต่การให้บริการก่อนถึงโรงพยาบาล (EMS) การให้บริการในโรงพยาบาล (In-hospital care) พัฒนาระบบบริการศูนย์อุบัติเหตุ (Trauma Center) การส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาล (Referral system) และการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วย (Rehabilitation) รายละเอียดของแต่ละกลยุทธ์ แนวทางการดำเนินงานและหน่วยงานรับผิดชอบหลัก/รองอยู่ในเอกสาร
10
แนวทางการดำเนินงานตามภารกิจของ กระทรวงสาธารณสุข โดยใช้ 6 กลยุทธ์
กลยุทธ์ที่ 2 การเฝ้าระวัง ติดตามและประเมินผล (หลัก) โดยการพัฒนาระบบฐานข้อมูลอุบัติเหตุทางถนนของประเทศ ให้มีความถูกต้อง เชื่อถือได้ และตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้จากหน่วยงานต่างๆ ได้ทันการณ์ ทันเวลา ทั้งในภาวะปกติและในภาวะฉุกเฉิน รวมถึงการวิเคราะห์และปฏิบัติการเชิงรุกด้วยการนำเสนอข้อมูลสถานการณ์หรือเหตุการณ์และทางออกต่อสังคมในทุกระดับ (Advocacy) รายละเอียดของแต่ละกลยุทธ์ แนวทางการดำเนินงานและหน่วยงานรับผิดชอบหลัก/รองอยู่ในเอกสาร
11
แนวทางการดำเนินงานตามภารกิจของ กระทรวงสาธารณสุข โดยใช้ 6 กลยุทธ์
กลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาเครือข่าย/กลไกการดำเนินงานป้องกันและลดอุบัติเหตุ (รอง) โดยการประสานงานและเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายหลักในยุทธศาสตร์ 5 E (Enforcement, Education, Engineering, EMS และEvaluation) และสนับสนุนการสร้างเครือข่ายใหม่ที่สำคัญ รวมทั้งเข้าไปมีส่วนร่วมในกระบวนการควบคุมป้องกันอุบัติเหตุทางถนนในทุกระดับ รายละเอียดของแต่ละกลยุทธ์ แนวทางการดำเนินงานและหน่วยงานรับผิดชอบหลัก/รองอยู่ในเอกสาร
12
แนวทางการดำเนินงานตามภารกิจของ กระทรวงสาธารณสุข โดยใช้ 6 กลยุทธ์
กลยุทธ์ที่ 4 การให้ความรู้ และรณรงค์ (รอง)ประชาสัมพันธ์ สร้างความตระหนักในเรื่องความปลอดภัยให้กับประชาชน เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผ่านทางบุคลากรทางด้านสาธารณสุข และ อสม. เช่น 1) จัดการรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุให้กับประชาชนในชุมชนโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 2) เจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลจัดระบบการรณรงค์ให้ความรู้แก่ผู้ป่วย ญาติผู้ป่วย จากอุบัติเหตุ 3) บุคลากรสาธารณสุขทุกคน ทุกหน่วย รวมถึงเครือญาติ และ อสม. จะต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในการมีพฤติกรรมที่ปลอดภัย รายละเอียดของแต่ละกลยุทธ์ แนวทางการดำเนินงานและหน่วยงานรับผิดชอบหลัก/รองอยู่ในเอกสาร
13
แนวทางการดำเนินงานตามภารกิจของ กระทรวงสาธารณสุข โดยใช้ 6 กลยุทธ์
กลยุทธ์ที่ 5 การพัฒนาบุคลากร (รอง) โดยการพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบทุกระดับให้มีความรู้ สามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งประสานกับโรงเรียนแพทย์ในการจัดหลักสูตรการเรียนการสอนที่สอดแทรกเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับอุบัติเหตุทางถนน รายละเอียดของแต่ละกลยุทธ์ แนวทางการดำเนินงานและหน่วยงานรับผิดชอบหลัก/รองอยู่ในเอกสาร
14
แนวทางการดำเนินงานตามภารกิจของ กระทรวงสาธารณสุข โดยใช้ 6 กลยุทธ์
กลยุทธ์ที่ 6 การศึกษา วิจัย ทบทวนวรรณกรรม และพัฒนาองค์ความรู้ (รอง) ค้นหาองค์ความรู้ใหม่ๆ ด้านการควบคุมป้องกันอุบัติเหตุทางถนน และมีการศึกษาในเรื่องความเสี่ยงต่างๆ สาเหตุ ปัจจัยที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุรวมทั้งความสูญเสียที่เกิดขึ้น เพื่อให้ได้หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ นำไปสู่การตัดสินใจเชิงนโยบาย รวมทั้งเพื่อให้ได้รูปแบบการดำเนินงานควบคุมป้องกันอุบัติเหตุทางถนนที่สามารถนำไปขยายผลได้ รายละเอียดของแต่ละกลยุทธ์ แนวทางการดำเนินงานและหน่วยงานรับผิดชอบหลัก/รองอยู่ในเอกสาร
15
สิ่งที่กระทรวงอยากเห็น
1. มีระบบข้อมูลเฝ้าระวัง และ มีการเตือนภัย ในทุกระดับ 2. มีการนำข้อมูลอุบัติเหตุทางถนนจากหลายแหล่งที่มีในจังหวัด ไปใช้ประโยชน์ เพื่อผลักดันให้เกิดการขับเคลื่อนการดำเนินงานในพื้นที่ ในระดับต่างๆ 3. การพัฒนาระบบข้อมูลอุบัติเหตุทางถนน การใช้นิยามการตาย 30 วันหลังเกิดเหตุ 4. มีระบบการดูแลช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ ที่มีประสิทธิภาพ 5. บทบาทการทำงานของกระทรวงสาธารณสุข ในช่วงทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน รายละเอียดของแต่ละกลยุทธ์ แนวทางการดำเนินงานและหน่วยงานรับผิดชอบหลัก/รองอยู่ในเอกสาร
16
Time of Action
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.