งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การดูแลหญิงตั้งครรภ์ระยะคลอด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การดูแลหญิงตั้งครรภ์ระยะคลอด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การดูแลหญิงตั้งครรภ์ระยะคลอด
พญ.นงเยาว์ สุวรรณกันทา โรงพยาบาลนครพิงค์ เชียงใหม่

2 ห้องคลอดคุณภาพ???

3 ห้องคลอดคุณภาพ 1.การประเมินภาวะเสี่ยงในห้องคลอด 2.การใช้กราฟดูแลการคลอด 3.มีชุดเครื่องมือกู้ชีพของมารดาที่พร้อมใช้ 4.มีทีมบุคลากรสามารถช่วยกู้ชีพมารดาและทารกได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.สามารถทำการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องหรือทำการส่งต่อได้ทันที 6.การป้องกันและรักษาภาวการณ์ตกเลือดหลังคลอด

4 ห้องคลอดคุณภาพ 7.มีคลังเลือดที่มีประสิทธิภาพหรือมีระบบเครือข่ายในการหาเลือด 8.มีอัตราส่วนแพทย์และพยาบาลต่อผู้คลอดไม่น้อยกว่า 1:3 9.มีการนำลูกให้แม่มาโอบกอดเนื้อแนบเนื้อและช่วยเหลือให้ลูกได้ดูดนมแม่ โดยดูดทันที ภายในระยะเวลาไม่เกิน 30 นาทีและ ดูดนาน 1 ชั่วโมง

5 ห้องคลอดคุณภาพ 10.การส่งต่อมารดาที่เกิดภาวะแทรกซ้อนได้อย่างปลอดภัย 11.เก็บข้อมูล/วิเคราะห์ 12.มีการนำข้อมูลหรือตัวชี้วัดของหน่วยงานมาใช้เฝ้าระวังหรือวิเคราะห์ เพื่อปรับปรุงพัฒนา 13.มีการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในห้องคลอด เพื่อให้การคลอดปลอดภัย

6 คณะอนุกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ 2551-2552
การดูแลตามระยะ คณะอนุกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ

7 การดูแลสตรีตั้งครรภ์ขณะแรกรับ
แพทย์หรือบุคลากรทางการแพทย์ แจ้งให้สตรีตั้งครรภ์ทราบถึงการดำเนินการคลอด ภาวะแทรกซ้อนและแนวทางการดูแลรักษา สตรีตั้งครรภ์หรือผู้มีอำนาจ ลงนามยอมรับการรักษาต่อหน้าพยาน ทบทวนการฝากครรภ์ ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ตรวจครรภ์ ตรวจภายใน ตลอดจนวินิจฉัยอื่นเพิ่มเติม

8 ระยะLatent V/S, PV ทุก 4ชม. UC, FHS ทุก 30 นาที
หากพบภาวะแทรกซ้อนหรือ จำเป็นต้องผ่าตัดคลอดบุตร แจ้งสตรี สามีและญาติทราบ ลงนามยินยอม แจ้งความก้าวหน้าของการคลอด สภาวะของบุตร ให้สตรี สามีและญาติเป็นระยะ

9 ระยะActive V/S ทุก 30 นาที UC, FHS ทุก 15 นาที PV ทุก 1 ชม.
แจ้งความก้าวหน้าของการคลอด สภาวะของบุตร ให้สตรี สามีและญาติเป็นระยะ

10 ระยะที่ 2 ดูแลทำคลอดตามมาตรฐาน

11 ระยะที่ 3 V/S ทุก 15 นาที บันทึกการหดรัดตัวของมดลูก ปริมาณเลือดที่ออก เวลาที่รกคลอด ตลอดจนการรักษาอื่น

12 ระยะที่ 4 1 ชม.หลังคลอด V/S การหดตัวของมดลูก ปริมาณเลือดที่ออกทุก 1 นาที จนกว่าจะปกติ ถ้าปกติดี ตรวจทุก 30นาที

13 WHO PARTOGRAPH

14 PARTOGRAPH การคลอดที่ยาวนานเป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิดภาวะแทรกซ้อน
ตกเลือดหลังคลอด ภาวะติดเชื้อ การดูแลการคลอดที่เหมาะสมจะช่วยลดอัตราการตายของมารดาและทารก และลดการผ่าตัดคลอดที่ไม่จำเป็นได้ 2

15 PARTOGRAPH First Stage of Labor Friedman’s curve Latent phase
Active phase First Stage of Labor 3

16 Friedman’s Curve Cervix Dilate 4 4

17 WHO PARTOGRAPH กราฟแสดงบันทึกความก้าวหน้าของการคลอดที่สัมพันธ์กับเวลา มีส่วนประกอบสำคัญคือ Fetal conditions Progression of labor Drug &Treatment Maternal conditions 5

18 Fetal conditions Progression of labor Drug &Treatment Maternal condition 6

19 “เหมาะกับประเทศกำลังพัฒนา”
เริ่มบันทึก True Labor SRM Induction “เหมาะกับประเทศกำลังพัฒนา”

20 Fetal Conditions PART I

21 Fetal Conditions FHR : “ . ” Latent phase: 30-60min
Active phase: 30min, 15min(risk) 7

22 Fetal Conditions 2. Membrane I : Mb intact SRM ARM C : clear
M : meconium stained A : absent B : bloody 8

23 Fetal Conditions 3. Molding 0 : sagittal suture +1 : คลำๆได้ไม่ชัด
+2 : Overlapping +3 : Severe overlapping >0.5cm 9

24 SRM,Co,LOA 10

25 Progression of Labor PART II

26 Progression of Labor Cervical dilatation : “ x ” Alert line
Latent phase Active phase Alert line Action line Referal zone/Warning zone 11

27 Progression of Labor Descent of fetal head : “ o ” Ischial spine 12

28 x x 100% -2 x -1 100% x 100% o +1 x 75% +2 +3 6.00 10.00 10.00 12 14 13

29 Progression of Labor Uterine contractions
Frequency : จำนวนครั้งใน 10นาที Duration : < 20sec 20-40sec >40sec Intensity : mild, moderate, strong 14

30 15

31 DRUG& TREATMENT PART III

32 DRUG &TREATMENT ยาและการรักษาอื่น เช่น IV, Pethidine, MgSO4 Oxytocin :
…..U/1000ml …..d/min ยาและการรักษาอื่น เช่น IV, Pethidine, MgSO4 16

33 10 3 6 Pethidine MgSO4 17

34 Maternal Conditions PART IV

35 Maternal Conditions BP PR : “ . ” Temperature : ºC
“ ˆ ” : systolic “ ˇ ” : diastolic PR : “ . ” Temperature : ºC Urine : albumin, sugar, volume 18

36 19

37 Labor Pattern Nulli parous Mullti Preferred Treatment Exceptional Prolongation disorder Prolonged latent phase >20hr >14hr Rest Oxytocin, C/S Protraction disorder 1.Protracted active phase dilatation 2.Protracted descent <1.2 cm/hr <1cm/hr <1.5 cm/hr <2cm/hr Expectant or Support C/S (CPD) Arrest disorder 1.Prolong deceleration 2.2nd arrest of dilatation 3.Arrest of descent 4.Failure of descent >3hr >2hr >1hr Oxytocin or C/S

38 Power Passage Passenger Psychi

39 ข้อซักถามค่ะ?

40 THANK YOU


ดาวน์โหลด ppt การดูแลหญิงตั้งครรภ์ระยะคลอด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google