กรุงธนบุรีเกิดความไม่สงบ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กรุงธนบุรีเกิดความไม่สงบ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 กรุงธนบุรีเกิดความไม่สงบ
พระยาสรรค์เป็นกบฏ พระยาสรรค์เป็นกบฏ

3 สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก
สถาปนาราชวงศ์จักรี ๖ เมษายน ๒๓๒๕

4 พระบาทสมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดี พระบาทสมเด็จพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

5 กรุงรัตนโกสินทร์ กรุงเทพมหานคร

6

7 ข้อเสียของกรุงธนบุรี
กรุงธนบุรีเป็นเมืองที่มีการสร้างป้อมปราการเอาไว้ทั้งสองฝั่งแม่น้ำ โดยเอาแม่น้ำ ผ่ากลาง (เรียกว่าเมืองอกแตก) เหมือนเมืองพิษณุโลกมีประโยชน์ตรงที่อาจเอาเรือรบไว้ในเมือง เมื่อเวลาถูกข้าศึกมาตั้งประชิด แต่การรักษาเมืองคนข้างใน จะถ่ายเทกำลังเข้ารบพุ่งรักษาหน้าที่ได้ไม่ทันท่วงที เพราะต้องข้ามแม่น้ำ แต่แม่น้ำเจ้าพระยาทั้งกว้างและลึกจะทำสะพานข้ามก็ไม่ได้ ทำให้ยากแก่การรักษาพระนครเวลาข้าศึกบุก...

8 กรุงธนบุรีอยู่ในท้องคุ้งน้ำ ทำให้น้ำกัดเซาะตลิ่งพังได้ง่าย
ข้อเสียของกรุงธนบุรี กรุงธนบุรีอยู่ในท้องคุ้งน้ำ ทำให้น้ำกัดเซาะตลิ่งพังได้ง่าย

9 - บริเวณพระราชวังเดิมของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชคับแคบ มีวัดขนาบทั้งสองข้าง คือ วัดแจ้ง (วัดอรุณราชวราราม) กับวัดท้ายตลาด (วัดโมฬีโลกยาราม) ทำให้ยากแก่การขยายพระราชวังให้กว้างออกไป

10 ข้อดีของอีกฝั่ง - ทางฝั่งกรุงเทพฯเป็นที่ชัยภูมิเหมาะสมเพราะเป็นหัวแหลม ถ้าสร้างเมืองแต่เพียง ฟากเดียว จะได้ แม่น้ำใหญ่เป็นคูเมืองทั้งด้านตะวันตกและด้านใต้ เพียงแต่ขุดคลองเป็นคูเมืองแต่ด้านเหนือและด้านตะวันออกเท่านั้น ถึงแม้ว่าข้าศึกจะเข้ามาโจมตีก็พอต่อสู้ได้ - เนื่องด้วยทางฝั่งตะวันออกนี้ พื้นที่นอกคูเมืองเดิมเป็นพื้นที่ลุ่มที่เกิดจากการตื้นเขินของทะเล ข้าศึกจะยกทัพมาทางนี้คงทำได้ยาก ฉะนั้นการป้องกันพระนครจะได้มุ่งป้องกันเพียง ฝั่งตะวันตก แต่เพียงด้านเดียว - ฝั่งตะวันออกเป็นพื้นที่ใหม่ สันนิษฐานว่าชุมชนใหญ่ในขณะนั้นคงจะมีแต่ชาวจีนที่เกาะกลุ่มกันอยู่จึงสามารถขยายออกไปได้อย่างกว้างขวาง และขยายเมืองได้เรื่อยๆ...อ้าง

11

12 ปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญด้านเศรษฐกิจและการปกครอง
๑. ด้านผู้นำ สร้างความมั่นคงให้บ้านเมือง สร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ที่ตั้งภูมิศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรม

13

14 พัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ.๒๓๒๕-๒๓๙๔ ด้านการเมืองการปกครอง กฎหมายตรากฎสามดวง สมุหนายก สมุหพระกลาโหม กรมท่า ปกครองหัวเมือง ฝ่ายเหนือ ปกครองหัวเมือง ฝ่ายใต้ ปกครองหัวเมือง ชายทะเลอ่าวไทย

15 ด้านสังคมและวัฒนธรรม
กลุ่มคนในสังคม ชนชั้นปกครอง ชนชั้นผู้ถูกปกครอง พระมหากษัตริย์ เป็นประมุขของอาณาจักร ไพร่ ราษฎร เจ้านาย เชื้อสายราชวงศ์ ทาส ราษฎรที่ขาดสิทธิและแรงงาน ขุนนาง ข้าราชการ

16 นำแพทย์สมัยใหม่มาใช้
ด้านวัฒนธรรม สังคายนาพระไตรปิดก พระราชนิพนธ์ มิชชั่นนารี นำแพทย์สมัยใหม่มาใช้ รามเกียรติ์ มีโรงพิมพ์ อิเหนา สังข์ทอง ไกรทอง นิราศรบที่ท่าดินแดง ขุนช้างขุนแผน

17 รัชกาลที่ ๒

18 สร้างและบูรณะวัดวาอาราม วัดเชตุพนวิมลมังคลาราม
รัชกาลที่ ๓ สร้างและบูรณะวัดวาอาราม วัดอรุณราชวราราม วัดเชตุพนวิมลมังคลาราม

19 ด้านเศรษฐกิจ ค้าขายกับต่างประเทศ ทำเกษตรกรรมเป็นหลัก

20 พัฒนาการในสมัยการปฏิรูปประเทศ
พ.ศ. ๒๓๙๔-๒๔๗๕ ด้านการเมืองการปกครอง ด้านวัฒนธรรม ด้านเศรษฐกิจ

21 ด้านการเมืองการปกครอง

22 รัชกาลที่ ๕ อนุญาตให้เฝ้ารับเสด็จ มองพระพักตร์ได้ ถวายฎีกาได้
ปฏิรูประบบการปกครองเป็น มณฑลเทศาภิบาล การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนภูมิภาค กระทรวง มณฑลเทศาภิบาล กรม เมือง อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน

23 ด้านสังคมและวัฒนธรรม รับวัฒนธรรมตะวันตกมาใช้
รัชกาลที่ ๕ รับวัฒนธรรมตะวันตกมาใช้ การเลิกทาส มีโรงเรียน การแต่งกาย การไหว้ทรงผม การใช้ช้อนซ่อม การใช้รถราง

24 กำหนดชื่อบุรุษ สตรี เด็ก
รัชกาลที่ ๖ กำหนดชื่อบุรุษ สตรี เด็ก การใช้นามสกุล สตรีไว้ผมยาว สตรีนุ่งผ้าซิ่น ใช้ธงไตรรงค์ มีการศึกษาภาคบังคับ ตั้งมหาวิทยาลัย

25

26 ด้านการเมืองการปกครอง


ดาวน์โหลด ppt กรุงธนบุรีเกิดความไม่สงบ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google