งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

5. Geologic Time F.S.Singharajwarapan.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "5. Geologic Time F.S.Singharajwarapan."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 5. Geologic Time F.S.Singharajwarapan

2 ธรณีกาล Geologic Time

3 เวลาสัมบูรณ์ (Absolute Time) เวลาสัมพัทธ์ (Relative Time)
ระยะเวลาที่บ่งบอกว่าเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาเกิดขึ้นเมื่อไร เป็นตัวเลขและหน่วย เช่น 40 ล้านปี เวลาสัมพัทธ์ (Relative Time) การเปรียบเทียบเหตุการณ์ในอดีต ว่าอะไรเกิดก่อน-หลัง โดยไม่ระบุเป็นตัวเลข

4 Radiometric (Isotopic) Dating
การหาเวลาสัมบูรณ์ Radiometric (Isotopic) Dating อาศัยการสลายตัวของธาตุกัมมันตภาพรังสี นิวเคลียสสลายให้อนุภาค ทำให้ธาตุเริ่มต้นเปลี่ยนไปเป็นธาตุใหม่ = ISOTOPE โดยอัตราการสลายตัวของแต่ละธาตุจะคงที่ ทำให้คำนวณอายุของแร่หรือหินได้ ครึ่งชีวิต (Half Life) = เวลาที่ parent isotope สลายตัวลดลงครึ่งหนึ่งของจำนวนเดิม เช่น HALF LIFE (t1/2) ของ U238 = พันล้านปี

5 Uranium-238/Lead-206 Uranium-235/Lead-205 Potassium-40/Argon-40
Rubidium-87/Strontium-87

6 เวลาสัมพัทธ์ (Relative Time)
เป็นการจัดลำดับชั้นหินว่าชั้นไหนเกิดก่อน-หลัง โดยอาศัยตำแหน่งของชั้นหิน The Law of Superposition ชั้นหินที่ไม่ถูกพลิกจนเกิน 90 องศา (overturned) ชั้นล่างสุดจะมีอายุแก่ที่สุดเสมอ The Law of Cross Cutting Relationship ชั้นหินที่ถูกตัดจะแก่กว่าหินที่มาตัดเสมอ

7 (

8

9

10 การเปรียบเทียบหินตะกอน (Correlation of Sedimentary Rocks)
การเปรียบเทียบหินตะกอนจากที่ต่างๆโดยอาศัย การเทียบอายุ ลำดับชั้นหิน ตลอดจนเหตุการณ์และสิ่งแวดล้อมขณะเกิดที่คล้ายกัน เปรียบเทียบโดยลักษณะทางกายภาพ Key Bed = ชั้นหินที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะ เช่น มีชั้นถ่านหินแทรกสลับ Sequence = ลำดับชั้นหิน มีการเริ่มต้นและสิ้นสุดเหมือนกัน เปรียบเทียบโดยซากดึกดำบรรพ์ Guide (Index) Fossil ซากดึกดำบรรพ์ที่เกิดในช่วงสั้นๆ กระจายตัวทั่วโลก

11

12 (Lutgens and Tarbuck,1996)

13 (Hamblin,1994)

14 ตารางธรณีกาล (GEOLOIC TIME SCALE)
การเรียงลำดับชุดหินที่พบโดยอาศัย The Law of Superposition และซากดึกดำบรรพ์ ทำให้เกิด แท่งธรณี (Geologic Column) ตามลำดับการเกิดก่อน-หลัง หรือใช้เวลาสัมพัทธ์ อาศัย Geologic Column เรียงลำดับหินยุคต่างๆทั่วโลก นำหินช่วงต่างๆไปหาเวลาสัมบูรณ์ แบ่งเป็นหน่วยเวลา มหายุค (Eras) ยุค (Periods) สมัย (Epochs) อายุ (Ages) = ตารางธรณีกาล (Geologic Time Scale)

15 Geologic Column

16 ทำให้เกิด Geologic Column
Correlation ทั่วโลก ทำให้เกิด Geologic Column

17 มหายุค ยุค สมัย อายุ Ages ตารางธรณีกาล Geologic Time Scale

18 Stratigraphy of Thailand การลำดับชั้นหินของประเทศไทย
Precambrian-Quaternary Igneous-Sedimentary-Metamorphic Rocks Precambrian-Quaternary Igneous-Sedimentary-Metamorphic Rocks

19 Geologic map of Thailand

20 Geology for Engineers เฟลด์สปาร์ (FELDSPAR) แพลจิโอเคลส (Plagioclase)
เป็นกลุ่มแร่ที่มีมากที่สุดในเปลือกโลก (64%) เป็นแร่ที่ยุ่งยากและมีส่วนประกอบเปลี่ยนแปลงเป็นช่วงกว้าง โพแทสเซียมเฟลด์สปาร์ K(Si3Al)O8 มีแร่ที่มีสูตรเดียวกันแต่ผลึกต่างรูปอยู่สามตัว คือ ออร์โทเคลส ไมโครไคล์น และ ซานิดีน แพลจิโอเคลส (Plagioclase) มีช่วงส่วนประกอบเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง (Solid Solution) จาก อะนอร์ไทต์ [Ca(Si2Al2)O8] ไปเป็น >> แอลไบต์ [Na(Si3Al)O8] เฟลด์สปาร์พบมากทั้งในเปลือกโลกส่วนทวีปและมหาสมุทร Geology for Engineers


ดาวน์โหลด ppt 5. Geologic Time F.S.Singharajwarapan.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google