งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
ชนิกรรดา ไทยสังคม นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักบริหารระบบบริการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต

2 1. ท่านเคยพบเห็นหรือรู้จักคนที่มีภาวะบกพร่องทางจิตหรือไม่. 2
1. ท่านเคยพบเห็นหรือรู้จักคนที่มีภาวะบกพร่องทางจิตหรือไม่ ? 2. ภาวะบกพร่องทางจิตในความคิดท่านคืออะไร ? 3. ท่านรู้สึกอย่างไรต่อผู้ที่มีภาวะบกพร่องทางจิต/ป่วยโรคจิต ?

3 ความหมายของโรคจิต           โรคจิต เป็นความผิดปกติของจิตใจ ซึ่งการทำงานของจิตใจเสียหน้าที่ไปอย่างเห็นได้ชัดเจน จนทำให้บุคคลนั้นไม่สามารถดำเนินชีวิตอย่างเป็นปกติ ประกอบด้วยอาการทั่วไป 3 ประการ คือ           1) บุคลิกภาพเดิมของผู้ป่วยเปลี่ยนไป           2) ไม่อยู่ในโลกของความจริง           3) ไม่รู้สภาวะตนเอง 

4 สาเหตุ กรรมพันธุ์

5 สาเหตุ ความผิดปกติของสมอง

6 สาเหตุ สารเสพติด

7 สาเหตุ ความกดดันทางจิตใจและสังคม

8 สรุป อาการของโรคจิต...ประกอบด้วย
ความผิดปกติด้านความคิด : มีความคิดหลงผิด ความผิดปกติด้านการรับรู้ : มีประสาทหลอน ความผิดปกติทางด้านอารมณ์ : ยิ้มคนเดียว สีหน้าทื่อเรียบเฉย ความผิดปกติด้านการพูด : คำพูดสับสน พูดเพ้อเจ้อ ความผิดปกติด้านพฤติกรรม : แยกตัว พูดคนเดียว คลุ้มคลั่ง และการแสดงออก

9

10 ผู้วิเศษ

11

12

13 อารมณ์เปลี่ยน

14

15

16

17 แต่งตัวที่มีลักษณะแปลกไม่เหมาะสม

18

19

20 แยกตัวเองออกจากสังคม ไม่สุงสิงกับใคร

21 วิธีการรักษา รักษาด้วย ยา (กิน / ฉีด)

22 วิธีการรักษา รักษาด้วยไฟฟ้า

23 วิธีการรักษา การรักษาด้านจิตใจ

24 วิธีการรักษา การเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม

25 ผลข้างเคียงของยา ปากแห้ง คอแห้ง

26 ผลข้างเคียงของยา

27 ผลข้างเคียงของยา ง่วงนอน

28

29 การดูแลผู้ป่วย กิน / ฉีดยาสม่ำเสมอ งดสิ่งเสพติด

30 การดูแลผู้ป่วย ให้กำลังใจผู้ป่วย ไม่พูดจายั่วยุ

31 การดูแลผู้ป่วย เก็บอุปกรณ์ มีด ให้มิดชิด พาผู้ป่วยเข้าสังคม

32 การดูแลผู้ป่วย สังเกตอาการผิดปกติของผู้ป่วย

33 ปัญหาที่พบบ่อยในการดูแลผู้ป่วย
ไม่ยอมกินยา ซึม เฉย ไม่สนใจใคร

34 ปัญหาที่พบบ่อยในการดูแลผู้ป่วย
หวาดกลัว ทำลายข้าวของ วุ่นวาย กลางคืนไม่นอน

35 สิ่งกระตุ้นให้อาการกำเริบ
ขาดยา (ไม่กิน / ฉีด)

36 สิ่งกระตุ้นให้อาการกำเริบ
กดดันทางจิตใจ

37 สิ่งกระตุ้นให้อาการกำเริบ
สารเสพติด

38 สิ่งกระตุ้นให้อาการกำเริบ
อดนอน

39 โรคซึมเศร้า

40 สาเหตุ กรรมพันธุ์ จิตใจ

41 สาเหตุ การเปลี่ยนแปลงฮอร์โมน ป่วยโรคทางกาย

42 มีอาการอย่างน้อย 5 อย่างหรือ มากกว่า ติดต่อกัน อย่างน้อย 2 สัปดาห์
วิธีการสังเกตุ มีอาการอย่างน้อย 5 อย่างหรือ มากกว่า ติดต่อกัน อย่างน้อย 2 สัปดาห์

43 เศร้าตลอดทั้งวัน (เด็ก หรือ วัยรุ่นอาจหงุดหงิดง่าย โกรธง่าย)
วิธีการสังเกตุ เศร้าตลอดทั้งวัน (เด็ก หรือ วัยรุ่นอาจหงุดหงิดง่าย โกรธง่าย)

44 วิธีการสังเกตุ ไม่สนใจกิจกรรมต่างๆ เบื่ออาหาร น้ำหนักลด

45 วิธีการสังเกตุ นอนไม่หลับ หรือ นอนมากทั้งวัน คิดช้า พูดช้า เคลื่อนไหวช้า

46 วิธีการสังเกตุ เหนื่อย เพลียง่าย ไม่มีแรง รู้สึกไร้ค่า

47 วิธีการสังเกตุ รู้สึกไร้ค่า คิดอยากตาย พยายามฆ่าตัวตาย

48 เครียด ซึมเศร้า ปัจจัยฆ่าตัวตาย
เครียด ซึมเศร้า ปัจจัยฆ่าตัวตาย

49 อาการ สัญญาณเตือน สีหน้าเศร้า ซึม หม่นหมอง รู้สึกผิดหวังอย่างรุนแรง สิ้นหวัง ไร้ค่า

50 อาการ สัญญาณเตือน มีการวางแผนการฆ่าตัวตาย / ทำร้ายตนเอง ป่วยโรคร้ายแรง / ป่วยโรคเรื้อรัง

51 อาการ สัญญาณเตือน สูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก คนในครอบครัว มีประวัติฆ่าตัวตาย

52 อาการ สัญญาณเตือน เข้ารักษาในโรงพยาบาล ด้วยการ ฆ่าตัวตายมาก่อน มีความเครียดและถูกกดดันอย่าง หนัก

53 วิธีการป้องกันและแก้ไข
ยอมรับว่ามีความทุกข์ หาสาเหตุของความทุกข์

54 วิธีการป้องกันและแก้ไข
ระบายความทุกข์ หาคนช่วยเหลือ หากิจกรรมทำเพื่อผ่อนคลาย

55 บริการให้คำปรึกษา โทรศัพท์สายด่วน 1323 ฟรี

56 คำถามยอดฮิต ผู้ป่วยต้องกินยานานเท่าไร ทำไมผู้ป่วย ไม่กินยา

57 ผู้ป่วย รพ.ชุมชน วัด อบต. อปท. กำนัน/ผญบ เพื่อนบ้าน รพสต เพื่อนบ้าน
โรงเรียน บ้าน อสม.

58

59

60 ได้แค่นี้ ฉันก็พอใจแล้ว

61 ข้อเสนอแนะ คำถาม


ดาวน์โหลด ppt การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google