งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
การบริหารจัดการ การส่งข้อมูลผู้ป่วย โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ไพรสณฑ์ จิตตนิยมบุญ

2 ข้อมูลทั่วไป อำเภออาจสามารถ ข้อมูลทั่วไป รพ.อาจสามารถ
ประชากรทั้งหมด 74,587 คน 10 ตำบล 13 สถานีอนามัย 138 หมู่บ้าน ข้อมูลทั่วไป รพ.อาจสามารถ รพช. 30 เตียง ปัจจุบัน นพ.ธารา รัตนอำนวยศิริ เป็นผู้อำนวยการโรงพยาบาล แพทย์ 4 คน ทันตแพทย์ 2 คน เภสัชกร 3 คน พยาบาลวิชาชีพ 30 คน พยาบาลเทคนิค 1 คน

3 ข้อมูลการให้บริการ (ปีงบประมาณ 2550)
ผู้ป่วยนอก 119,287 ครั้ง - มูลค่าบริการ 41,308,091 บาท - เฉลี่ย 326 คน / วัน ผู้ป่วยใน 2,835 คน รวมวันนอน 6,967 วัน - มูลค่าบริการ 10,821,939 บาท - เฉลี่ย 236 คน / เดือน

4 กระบวนการดำเนินงาน ตั้งคณะกรรมการเวชระเบียน ของ รพ.ซึ่งประกอบด้วย แพทย์ พยาบาล(ทุกกลุ่มงาน) จนท.เวชสถิติ 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ Audit ซึ่งประกอบด้วย แพทย์ 1 คน พยาบาล 1 คน จนท.เวชสถิติ 1 คน 3. จัดประชุมคณะกรรมการ เพื่อชี้แจงขั้นตอนการดำเนินงาน จัดอบรม จนท.ผู้เกี่ยวข้องทั้งหมด เพื่อรับทราบนโยบาย ชี้แจงปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงานและข้อเสนอแนะ 5. ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน

5 ขั้นตอนการดำเนินงาน แพทย์เวร
- เยี่ยมตรวจผู้ป่วย (Rounds)IPD/LR ทุกวัน เช้า/บ่าย - สรุป Summary ผู้ป่วยทันทีที่ D/C

6 ขั้นตอนการดำเนินงาน จนท.เวร IPD/LR
- ลง D/C ให้รหัสโรคและหัตถการ (Pre-Audit) ใน computer ทุกเวร

7 จนท. IPD/LR (คณะกรรมการเวชระเบียน)
ขั้นตอนการดำเนินงาน จนท. IPD/LR (คณะกรรมการเวชระเบียน) รวบรวม Chart ที่ลง D/C แล้วส่งห้องแพทย์ Auditor(ผอก) ทุกวันพุธ และตามความเหมาะสม

8 ขั้นตอนการดำเนินงาน แพทย์ Auditor
ตรวจสอบการสรุป Summary ของแพทย์เวรทุก Chart แก้ไข เพิ่มเติม เพื่อความถูกต้องสมบูรณ์ ซึ่งแพทย์ต้องทำความเข้าใจ ตกลงกัน นำ Chart ส่ง พยาบาล Auditor

9 ขั้นตอนการดำเนินงาน พยาบาล Auditor
ตรวจสอบความสมบูรณ์ของการบันทึกทางการพยาบาลอีกครั้ง ถ้าเห็นว่ายังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ให้นำ Chart กลับไปปรึกษากับ แพทย์ Auditor อีกครั้งเพื่อตรวจสอบยืนยัน

10 ขั้นตอนการดำเนินงาน จนท.เวชสถิติ
ให้รหัสโรคและหัตถการ ตามที่แพทย์ Auditor สรุป เก็บรวบรวมข้อมูล บันทึกลงใน โปรแกรม NHSO,DRG_MX นำส่งข้อมูล ในระยะเวลาที่ สป.สช. กำหนด (ภายใน 30 วัน หลังจาก D/C) รับข้อมูลตอบกลับ ปรับปรุงแก้ไข กรณีข้อมูลไม่ผ่าน (ติดC) และส่งข้อมูลแก้ไข

11 การจัดทำและส่งข้อมูล
หลักเกณฑ์การจัดทำข้อมูล ใช้รหัสวินิจฉัยโรคตาม ICD-10 ของ WHO ปี 2007 ใช้รหัสการทำผ่าตัดและหัตถการตาม ICD-9CM ปี 2007 - รับไว้รักษาใน รพ. น้อยกว่า 4 ชั่วโมง ให้นับเป็นผู้ป่วยนอก ยกเว้น D/C เป็น Dead, Refer, Escape และ Against Advice - ไม่อยู่ใน รพ. เกิน 24 ชั่วโมง ถือเป็นการลากลับบ้าน และต้องหัก Leave Day ในการ Admit ครั้งนั้น

12 การจัดทำและส่งข้อมูล
วิธีการส่งข้อมูล สปสช. หน่วยบริการ เก็บหลักฐานไว้ที่หน่วยบริการ หาก สปสช. ไม่พบหลักฐาน จะถือว่าหน่วยบริการ ไม่ได้ให้บริการ และจะเรียกคืนค่าใช้จ่าย ในส่วนที่ไม่พบหลักฐาน Electronic Claim ผู้ป่วยนอก = DrgMx ผู้ป่วยใน = NHSO

13 องค์ประกอบแห่งความสำเร็จ
คณะทำงานต้องเข้มแข็ง ยอมรับหลักการและเหตุผลซึ่งกันและกัน คณะทำงานต้องมีความรู้ ผ่านการอบรม ICD10,ICD9-cm แพทย์ต้องยอมรับข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะจากทีม Auditor คณะทำงานต้องมีความรู้เกี่ยวกับโรค, การรักษา, ยา, Lab, และหัตถการต่างๆ Auditor ต้องมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี Auditor ต้องทำหน้าที่ควบคุม ติดตาม Feedback ข้อมูล มีความเสียสละ เพราะต้องทำนอกเวลาเป็นส่วนใหญ่

14 รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
“มีคะแนน ผลการส่งข้อมูล ทันรอบการจ่ายชดเชย %” - เป็นลำดับที่ 1 ของจังหวัด - เป็นลำดับที่ 2 ของระดับเขต


ดาวน์โหลด ppt โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google