ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยJirattikarn Samak ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ข้อกำหนดท้องถิ่น เรื่อง การควบคุมสถานประกอบกิจการ และการประกอบกิจการ รับซื้อ สะสมยางก้อน หรือยางก้อนถ้วย
2
ความเป็นมาและผลกระทบจากการประกอบกิจการรับซื้อ สะสมยางก้อน
3
พท.ปลูกยางในจังหวัดเลย จำนวน ๖๙๐,๑๔๙ ไร่ ครอบคลุมทุกอำเภอ
4
การแปรรูป ยางก้อนถ้วย (> 90%)ยางแผ่น
5
เหตุผล
6
ตะแคงก้อนยาง กรีด เติมกรด
วันที่ ๑ กรีด เติมกรด วันที่ ๒ ตะแคงก้อนยาง กรีด เติมกรด วันที่ ๓ เก็บ
8
สาเหตุของการเกิดกลิ่นเหม็นของยางก้อนถ้วย
9
น้ำยางสดจากต้นยางพารา มีลักษณะเป็นของเหลวสีขาวหรือสีครีม โดยมีอนุภาคยางแขวนลอย อยู่ในตัวกลางที่เป็นน้ำ ส่วนประกอบ ร้อยละ (โดยน้ำหนัก) สารที่เป็นของแข็งทั้งหมด 36 - เนื้อยางแห้ง 33 - สารกลุ่มโปรตีนและไขมัน 1 – 1.2 - สารกลุ่มคาร์โบไฮเดรท 1 - เถ้า <= 1 น้ำ 64
10
แบคทีเรีย - กลิ่นเหม็นจากการบูดเน่าของสารอินทรีย์ - ก๊าซชนิดต่าง ๆ เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทน น้ำยางพารา (> 6 ชั่วโมง)
11
การซื้อ - ขายยางพารา แหล่งรับซื้อ
12
สถานประกอบกิจการรับซื้อ - สะสมยางก้อน
13
ผลกระทบต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อมจากสถานประกอบการรับ/สะสมยางก้อน
ผลกระทบต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อมจากสถานประกอบการรับ/สะสมยางก้อน
14
อุบัติเหตุทางจราจร
15
เมืองเลยฝนตกถนนลื่นขี้ยางเกิดอุบัติเหตุกว่า 15 จุด ตาย 1 บาดเจ็บระนาว
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า เมื่อเวลาประมาณ น. วันที่ 20 มกราคม 2555
16
น้ำก้อนยางที่หล่นลงบนพื้นดิน : เมื่อมีฝนตกจะส่งกลิ่นเหม็นฉุน
ก้อนยาง : กระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ของแบคทีเรีย ส่งกลิ่นเหม็นเน่าของสารอินทรีย์ กลิ่นเหม็น น้ำก้อนยางที่หล่นลงบนพื้นดิน : เมื่อมีฝนตกจะส่งกลิ่นเหม็นฉุน
17
น้ำเสีย สารอินทรีย์พวกคาร์โบไฮเดรต โปรตีนและไขมันเป็นองค์ประกอบรวมกับกรด ที่ใช้ในการจับตัวของน้ำยาง ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดมลพิษ (กลิ่นเหม็นฉุนของก๊าซ : ก๊าซมีเทน)
18
เรื่องร้องเรียนเหตุรำคาญ
19
เรื่องร้องเรียนเรื่องกลิ่นเหม็นจากสถานประกอบการรับซื้อ/สะสมยางก้อน
ปี ๕๕ - ๕๖ ชาวบ้านสุดทนร้านซื้อเศษขี้ยางส่งกลิ่นเหม็นรบกวนชาวบ้านและโรงเรียน วันที่ 20/10/55 สสจ.เลย ๑๕ ครั้ง สื่อมวลชน ๑ ครั้ง ผวจ.เลย ๑ ครั้ง ปิดสถานประกอบการ ๒ แห่ง
20
ไม่มีมาตรการในการควบคุมสถานประกอบการ
ปัญหาการดำเนินการ ประกาศกระทรวงสาธารณสุขที่ออกตามความในมาตรา ๓๑ แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ หมวด ๗ ว่าด้วยเรื่องกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ข้อ ๕ (๒) การล้าง การอบ การรม การสะสมยางดิบ ไม่มีมาตรการในการควบคุมสถานประกอบการ
21
การดำเนินการเพื่อแก้ปัญหา
22
ประชุมกลุ่ม stake holder
23
สัมภาษณ์ประชาชนข้างเคียงสถานประกอบการ
24
น้ำจากยางก้อนที่หยดลงบนถนนระหว่างการขนส่ง ควบคุมสถานประกอบกิจการ
กลิ่นเหม็น น้ำจากยางก้อนที่หยดลงบนถนนระหว่างการขนส่ง ถนนลื่น คอแห้ง ปวด/เวียนศีรษะ หายใจไม่สะดวก นอนไม่หลับ อุบัติเหตุจราจร ควบคุมสถานประกอบกิจการ มีการจัดการกำจัดกลิ่น และน้ำเสีย สถานประกอบการอยู่ห่างจากชุมชน กำหนดวันสะสมเพื่อป้องกันการเกิดกลิ่น มาตรการควบคุมการขนส่ง
25
มาตรการแก้ปัญหา
26
บังคับใช้โดย อปท. มาตรการควบคุม
สถานประกอบการรับซื้อยางก้อน หรือ ยางก้อนถ้วย หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับสุขลักษณะและสถานที่ตั้ง ของสถานประกอบการรับซื้อยางก้อน หรือ ยางก้อนถ้วย ข้อกำหนดท้องถิ่น เรื่อง การควบคุมสถานประกอบการรับซื้อยางก้อน หรือยางก้อนถ้วย บังคับใช้โดย อปท.
27
กำหนดหลักเกณฑ์ ฯ และข้อกำหนดท้องถิ่น ฯ
ขั้นตอนการดำเนินการ กำหนดหลักเกณฑ์ ฯ และข้อกำหนดท้องถิ่น ฯ
28
สุขลักษณะของสถานที่ตั้ง การดำเนินกิจการ และข้อกำหนดท้องถิ่น ฯ
ยกร่าง สุขลักษณะของสถานที่ตั้ง การดำเนินกิจการ และข้อกำหนดท้องถิ่น ฯ (ปีงบประมาณ ๒๕๕๕) สำรวจสถานประกอบกิจการ ออกแบบสุขลักษณะของสถานประกอบกิจการ
29
อยู่ในภาวะที่ยอมรับได้
ทดลองดำเนินการ ประเมินผล อยู่ในภาวะที่ยอมรับได้
30
การปรับปรุงแก้ไขร่าง ฯ
คณะกรรมการ ฯ (๑๒ กย. ๕๖) วิพากษ์ ฯ (๑๗ กย. ๕๖) รับรองร่าง ฯ (๒๕ กย. ๕๖)
31
ร่าง ฯ ฉบับสมบูรณ์ นำไปการปฏิบัติ ขอความร่วมมือจาก อปท. ทั้ง ๑๐๐ แห่ง
พท.นำร่อง ๖ แห่ง ติดตาม ประเมินผล
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.