ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โดย ผศ.ดร.เสริมศิริ อัครพุฒิพันธ์
ปรัชญาแนะแนว โดย ผศ.ดร.เสริมศิริ อัครพุฒิพันธ์
2
ปรัชญาแนะแนว ๑. คนทุกคนมีคุณค่าต่อตนเอง ครอบครัว สังคม ฯลฯ ในฐานะที่จะสร้างคุณ สร้างประโยชน์ให้แก่ฝ่ายต่างๆ ได้ ๒. คนทุกคนมีศักดิ์ศรีในความเป็นคน ๓. คนมีความแตกต่างระหว่างบุคคล ๔. คนควรได้รับการส่งเสริมพัฒนาในทุกด้าน ตามศักยภาพอย่างเหมาะสม ๕. คนควรมีสิทธิ์ตัดสินใจเลือกการพัฒนาแก้ปัญหาของตนเอง
3
เป้าหมายของการแนะแนว
๑. การส่งเสริมและพัฒนา ๒. การป้องกัน ๓. การแก้ไขปัญหา
4
หลักการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
เป็นกระบวนการเชิงจิตวิทยา ที่ช่วยให้ผู้คนที่มีปัญหาทางจิตใจ หรือปัญหาทางกาย ซึ่งมีผลกระทบเนื่องมาจากสภาวะทางจิตใจ ได้เรียนรู้เกี่ยวกับตัวของตน สิ่งแวดล้อมของตน วิธีที่ตนจะแสดงบทบาทได้อย่างเหมาะสม และเรียนรู้วิธีการในการมีความสัมพันธ์กับผู้อื่นได้อย่างราบรื่น กระบวนการดังกล่าว จะช่วยให้บุคคลสามารถตั้งเป้าหมายเพื่อการตัดสินใจ และแก้ไขปัญหาของตนที่เกี่ยวกับ การศึกษา อาชีพ และส่วนตัว สังคมได้ (Hansen, Rossbergt Cramer, 1994)
5
องค์ประกอบที่สำคัญของการให้บริการปรึกษา
ผู้ให้การปรึกษา สภาพแวดล้อมทางกายภาพ กระบวนการ การให้บริการปรึกษา สภาพแวดล้อมทางจิตภาพ ผู้รับการปรึกษา
6
ทฤษฎีการปรึกษาที่ใช้ในการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา
๑. กลุ่มทฤษฎีการปรึกษา ที่เน้นความคิดและเหตุผล ๑.๑ ทฤษฎีการปรึกษาแบบวิเคราะห์ลักษณะบุคคลและองค์ประกอบ (Trait-Factor Counseling) ๑.๒ ทฤษฎีการปรึกษาแบบพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรม (Rational Emotive Behavior Theory (REBT)) ๑.๓ ทฤษฎีการปรึกษาแบบวิเคราะห์สัมพันธภาพ (Transectional Analysis in Psychotherapy)
7
กลุ่มทฤษฎีการปรึกษาที่เน้นอารมณ์และความรู้สึก
๒.๑ ทฤษฎีการปรึกษาแบบจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis) ๒.๒ ทฤษฎีการปรึกษาแบบผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง (Person-Centered Theory) ๒.๓ ทฤษฎีการศึกษาแบบเกสตัลท์ (Gestalt Theory) ๒.๔ ทฤษฎีการปรึกษาแบบภวนิยม (Existential Psychotherapy)
8
๓. กลุ่มทฤษฎีการปรึกษาที่เน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
๓.๑ ทฤษฎีการปรึกษาแบบพฤติกรรมนิยม (Behavior Therapy) ๓.๒ ทฤษฎีการปรึกษาแบบเผชิญความจริง (Reality Therapy)
9
๔. ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัว
๔.๑ ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบพลวัตรทางจิต (Psychodynamic Model) ๔.๒ ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบการเชื่อมโยงระหว่างรุ่น (Transgenerational Model) ๔.๓ ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบประสบการณ์นิยม (Experiential Model)
10
(ต่อ) ๔.๔ ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบโครงสร้าง (Structural Model)
๔.๕ ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบกลยุทธ์(Strategic Model) ๔.๖ ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบระบบมิลาน (The Milan Systemic Model) ๔.๗ ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบพฤติกรรมการรู้คิด-พฤติกรรม (Behavioral and Cognitive – Behavioral Models)
11
(ต่อ) ๔.๘ ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบที่เน้นคำตอบ
(Solution – Focused Therapy) ๔.๙ ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบการศึกษาเชิงจิตวิทยา (Psychoeducational Model)
12
ขอขอบคุณ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.