ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPaween Ratana ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
2
ตัวชี้วัด 1.5 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิตามเกณฑ์เครือข่ายบริการปฐมภูมิ (PCA)ในระดับ 5
3
ปัญหาที่พบ จนท.สอ.บางแห่งไม่เข้าใจรายละเอียดเกณฑ์การประเมิน
นำปัญหาที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาพิจารณา วางแผนปรับปรุง น้อย
4
ตัวชี้วัด 1.6 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล มีการพัฒนาสถานีบริการตามเกณฑ์มาตรฐานระดับดีมาก
5
ปัญหาที่พบ ประเมินตามมาตรฐาน 98 กิจกรรม ยังไม่เรียบร้อย
จนท.สอ.บางแห่งไม่เข้าใจรายละเอียดเกณฑ์การประเมิน นำปัญหาที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาพิจารณา วางแผนปรับปรุง น้อย
6
ตัวชี้วัด 1.7 ระดับความสำเร็จในการจัดบริการการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือกและแพทย์พื้นบ้านตามมาตรฐาน กระทรวงสาธารณสุข
7
ปัญหาที่พบ ข้อมูลทะเบียนยาหมอพื้นบ้านไม่เป็นปัจจุบัน
มีแผนงานโครงการไม่ชัดเจน ขาดการจัดบริการ นวด อบ ประคบ
8
ตัวชี้วัด 2.1 ร้อยละความครอบคลุมของผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพ
9
ปัญหาที่พบ แบบคำขอกรอกข้อมูลไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ จัดเก็บเอกสารไม่เป็นระบบ
ขาดทะเบียนคุมความครอบคลุมเป็นรายเดือน
10
ตัวชี้วัด 2.2 ระดับความสัมฤทธิ์ผลของการดำเนินงานตามสิทธิประโยชน์
11
ปัญหาที่พบ ขาดการวิเคราะห์สภาพการณ์ดำเนินงาน
ขาดการสำรวจและสรุปผลความรู้และสิทธิประโยชน์บริการสุขภาพ ขาดทะเบียนเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
12
ตัวชี้วัด 3.1 ระดับความสำเร็จของกระบวนการกำกับดูแลมาตรฐานผลิตภัณฑ์สุขภาพแบบมีส่วนร่วม
13
ปัญหาที่พบ ทะเบียนร้าน/แผง ไม่เป็นปัจจุบัน มีเฉพาะภาพรวมอำเภอ
ขาดสรุปผลการตรวจ SI2 ขาดการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ
14
ตัวชี้วัด 4.1 หน่วยบริการผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขศึกษาระดับดี
1= พอใช้ 2 = ดี 3 = ดีมาก
15
ปัญหาที่พบ ไม่ได้นำผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานงานสุขศึกษามาวางแผนพัฒนา การขาดวางแผน/โครงการในการดำเนินงานที่ชัดเจน
16
ตัวชี้วัด 4.3 ร้อยละของประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงป่วยเป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ไม่เกิน ร้อยละ5
17
ปัญหาที่พบ เป้าหมายกลุ่มเสี่ยงปี 53 ยังไม่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ไม่ได้รับแจ้งผู้ป่วยรายใหม่ ขาดการประเมินผลตามช่วงเวลาที่กำหนด
18
ตัวชี้วัด 4.4 หน่วยบริการสาธารณสุขมีระดับความสำเร็จของการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก เพื่อป้องกันทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม ในระดับ 3
19
ปัญหาที่พบ ขาดการจัดทำเวทีประชาคม และนำข้อมูลแม่และเด็กเข้าที่ประชุมภาคเครือข่าย ขาดมาตรการทางสังคม
20
ตัวชี้วัด 4.5 หน่วยบริการมีระดับความสัมฤทธิ์ผลในการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพมีคุณภาพได้มาตรฐาน ในระดับ 3
21
ปัญหาที่พบ ผู้บริหารให้ความสำคัญน้อย โรงเรียนไม่ผ่านระดับทอง
ขาดแผนพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย ขาดการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับตำบล
22
ตัวชี้วัด 4.6 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากในหญิงมีครรภ์และเด็กเล็ก
23
ตัวชี้วัด 4.7 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
24
ตัวชี้วัด 4.9 หน่วยงานผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดของโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญ ร้อยละ80
25
ปัญหาที่พบ ขาดการประเมินตนเองตามมาตรฐาน ตัวชี้วัด
ขาดเอกสารหลักฐานการดำเนินงานตามแผนงาน เช่นหลักฐานการสอบสวนโรค สรุปค่า HI ขาดการประสานงานการแจ้ง Case ผู้ป่วยวัณโรค ทำให้พื้นที่ไม่ทราบ
26
ตัวชี้วัด 4.11 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร
27
ปัญหาที่พบ ขาดการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาด้านอาหารปลอดภัย
ระดับตำบล แผนงานด้านอาหารปลอดภัยไม่ชัดเจน
28
ตัวชี้วัด 5.1ร้อยละชุมชนที่มีระบบการจัดการสุขภาพผ่านเกณฑ์ชุมชนดีสุขภาพดีแบบพอเพียง
29
ปัญหาที่พบ ขาดการประเมินชุมชน/หมู่บ้าน ตามแบบประเมินหมู่บ้านจัดการสุขภาพ 7 ประเด็น ขาดการเก็บรวบรวมเอกสารดำเนินงานตามเกณฑ์
30
ตัวชี้วัด 6.1 หน่วยงานมีระดับความสำเร็จในการจัดทำระบบการควบคุมภายใน
31
ปัญหาที่พบ ขาดการจัดทำแบบติดตาม ปย.3
32
ตัวชี้วัด 6.2 หน่วยงานมีระดับความสำเร็จของระบบการจัดการข้อร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น/คำชมเชยของส่วนราชการ และเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการ
33
ตัวชี้วัด 6.3 หน่วยงานมีระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
34
ตัวชี้วัด 7.1 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพตำบล
35
ปัญหาที่พบ มีการถ่ายทอดตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์และค่าน้ำหนักคะแนนลงสู่เจ้าหน้าที่แต่ยังไม่ชัดเจน บางแห่งไม่มีแผนงานโครงการรองรับยุทธศาสตร์
36
ตัวชี้วัด 8.1 ระดับความสำเร็จของหน่วยงานผ่านเกณฑ์มาตรฐานการจัดการสารสนเทศสุขภาพ
37
ปัญหาที่พบ ขาดการสืบค้นข้อมูลผู้มารับบริการ
โครงสร้างไฟล์ข้อมูลไม่สมบูรณ์
38
ตัวชี้วัด 9.1 ระดับความสำเร็จของการประเมินสมรรถนะและการพัฒนาที่พึงประสงค์ของบุคลากรสาธารณสุข
39
ปัญหาที่พบ ความเข้าใจในการประเมินสมรรถนะยังไม่ตรงกัน ทำให้
ความเข้าใจในการประเมินสมรรถนะยังไม่ตรงกัน ทำให้ - มีการใช้แบบประเมินไม่เหมือนกัน - การวิเคราะห์ข้อมูลในฟอร์ม 2 ไม่ชัดเจน ยังขาดความเข้าใจในการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล
40
ตัวชี้วัด 9.2ระดับความสำเร็จการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
41
ปัญหาที่พบ ขาดการจัดทำเอกสารลักษณะสำคัญขององค์กร
42
ตัวชี้วัด 9.3ระดับความสำเร็จการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ (วิชาการ/วิจัย/นวัตกรรม)
43
ปัญหาที่พบ ขาดการกำหนดความรู้ที่จำเป็นในการพัฒนาในหน่วยงาน
ขาดการรวบรวมองค์ความรู้เป็นเอกสารและเผยแพร่ทาง web
44
สรุปผลคะแนนถ่วงน้ำหนักผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ ประจำปี 2554
45
ผลการประเมินยุทธศาสตร์รอบที่ 1 ปี 2554 ระดับดีเด่น (80-100) ระดับดีมาก (70-79) ระดับดี (60-69)
46
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.