ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สรุปผลงาน ปีงบประมาณ 2552 ( ตุลาคม 2551 - กันยายน 2552 )
สรุปผลงาน ปีงบประมาณ 2552 ( ตุลาคม กันยายน ) งานเภสัชกรรมและแพทย์แผนไทย
2
งานเภสัชกรรมบริการ 1.งานบริการผู้ป่วยนอก 2.งานบริการผู้ป่วยใน
3.งานเภสัชกรรมคลินิก
3
งานเภสัชกรรมและแพทย์แผนไทย
กรอบอัตรากำลังงานงานเภสัชกรรมบริการ เภสัชกร จำนวน 4 อัตรา จ.พ.เภสัชกรรม จำนวน 3 อัตรา ลูกจ้าง จำนวน 2 อัตรา งานเภสัชกรรมและแพทย์แผนไทย
4
หน้าที่ความรับผิดชอบ
การจัดยา การจ่ายยาและแนะนำการใช้ยา งานบริการจ่ายยาคลินิกพิเศษ การติดตามและเฝ้าระวังการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา การบริการให้คำแนะนำปรึกษาปัญหาด้านยา การบริการข้อมูลข่าวสารด้านยา /จดหมายข่าว การติดตามความคลาดเคลื่อนทางยา การติดตามปัญหาจากการใช้ยา การควบคุมการสำรองยาในหอผู้ป่วย การให้ความรู้ด้านยาแก่บุคลากร/นักเรียน/นักศึกษา/บุคคลทั่วไป การเฝ้าระวังการใช้ยาในกลุ่มผู้ป่วยกลุ่มพิเศษ เช่น หญิงตั้งครรภ์,ให้นมบุตร,ภาวะพร่องเอ็นไซม์ G6PD การติดตามเครื่องชี้วัดของหน่วยงาน งานควบคุมกาสำรองยาสำหรับผู้ป่วยคลินิกพิเศษ การสนับสนุนทางเภสัชกรรมกับสถานีอนามัยเครือข่าย
5
กราฟเปรียบเทียบจำนวนผู้รับบริการจัดและจ่ายยา ปีงบประมาณ 2551 / 2552
6
จำนวนผู้รับบริการจ่ายยาประเภทผู้ป่วยใน
7
จำนวนผู้รับบริการจ่ายยาประเภทผู้ป่วยนอก
8
จำนวนผู้รับบริการจ่ายยาประเภทผู้ป่วยคลินิกนอกเวลา
9
สรุปการให้บริการคลินิคนอกเวลาแยกตามสิทธิ ตุลาคม 51 - กันยายน 52
จำนวนผู้รับบริการเฉลี่ย คน ต่อวัน
10
ดัชนีชี้วัดคุณภาพ 1. อุบัติการณ์การจัดยาผิด 2. อุบัติการณ์การจ่ายยาผิด
3. อัตราการพบคำร้องเรียน/ข้อเสนอแนะในทางลบ 4.จำนวนผู้รับบริการที่รอรับยานานเกิน 10 นาที
11
อุบัติการณ์การจัดยาผิด เป้าหมาย :ไม่เกิน 1 %
อุบัติการณ์การจัดยาผิด เป้าหมาย :ไม่เกิน 1 %
12
อุบัติการณ์การจ่ายยาผิด เป้าหมาย : 0.5 %
อุบัติการณ์การจ่ายยาผิด เป้าหมาย : 0.5 %
13
3. อัตราการพบคำร้องเรียน/ข้อเสนอแนะในทางลบ
เป้าหมาย 0 % ระดับที่ปฏิบัติได้ ไม่พบคำร้องเรียน/ข้อเสนอใน ทางลบ
14
4. จำนวนผู้รับบริการที่รอรับยานานเกิน 10 นาที
เป้าหมาย ไม่เกิน 5 % ระดับที่ปฏิบัติได้ 1.15 %
15
งานบริการข้อมูลข่าวสารและเภสัชกรรมคลินิก
16
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
จำนวนรายงานผู้ป่วยแพ้ยา : รวม ฉบับ (ไม่พบผู้ป่วยแพ้ยาซ้ำ) : OPD คน IPD คน ( เป้าหมายตาม KPI. อย่างน้อย ปีละ 10 ฉบับ )
17
กลุ่มอายุ : 1 - 20 ปี 14 คน : 21 - 40 ปี 7 คน : 41 - 60 ปี 5 คน
กลุ่มอายุ : ปี คน : ปี คน : ปี คน : 61 ปี ขึ้นไป คน ความรุนแรง ระดับ ไม่ร้ายแรง จำนวน ราย
18
กลุ่มอาการ APR ที่พบ 1. ผื่นคัน 26 ราย จากยา Ceftriaxone inj. , Diclofenac inj. , Amoxicillin cap. Penicillin tab. , Hyoscine syr. , Ibuprofen syr. Ciprofloxacin inj. , Cefaclor syr. , Co-trimoxazol tab. , Metronidazol inj. 2. ปากแห้ง คอแห้ง 2 ราย จากยา Dimenhydrinate inj. 3. เจ็บแน่นหน้าอก 1 ราย จากยา . Amoxicillin syr. 4. หน้าตาบวม 1 ราย จากยา Diclofenac inj. , Amoxi + Clav. Syr. , Amoxicillin syr.
19
1. อุบัติการณ์การเกิดการแพ้ยาซ้ำ เป้าหมาย ไม่พบ ( 0% )
ดัชนีชี้วัดคุณภาพ 1. อุบัติการณ์การเกิดการแพ้ยาซ้ำ เป้าหมาย ไม่พบ ( 0% ) ระดับที่ปฏิบัติได้ ไม่พบการเกิดการแพ้ยาซ้ำ
20
การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา ( medication error )
พบความคลาดเคลื่อนก่อนถึงตัวผู้ป่วย % พบความคลาดเคลื่อนขึ้นกับตัวผู้ป่วยแต่ไม่ทำให้ผู้ป่วย ได้รับอันตราย % เกิดความคลาดเคลื่อนขึ้นกับผู้ป่วยต้องการการเฝ้าระวังเพื่อให้มั่นใจว่าไม่เกิดอันตรายแก่ผู้ป่วย %
21
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพที่ผ่านมา
1. การลดความคลาดเคลื่อนในการจัดและจ่ายยา 2. การเฝ้าระวังการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาในระดับรุนแรง 3. การบริหารจัดการยาในกลุ่ม HIGH ALERT DRUG
22
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพปี 2553
การพัฒนาแนวทางปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจในการใช้ยา ( OPD Counselling ) การให้คำปรึกษาด้านยาสำหรับผู้ป่วยพิเศษ ( Fulltime Counselling ) การลดการคืนยาจากหอผู้ป่วย ( Drug U-turn )
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.