งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความเชื่อมโยงระหว่างกันใน BIMSTEC -ด้านคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์-

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความเชื่อมโยงระหว่างกันใน BIMSTEC -ด้านคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์-"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความเชื่อมโยงระหว่างกันใน BIMSTEC -ด้านคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์-
การสัมมนา “ความเชื่อมโยงระหว่างกันใน BIMSTIC” จัดโดยกรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ ณ โรงแรม Kantary Hill เชียงใหม่ 5 กันยายน 2555 ความเชื่อมโยงระหว่างกันใน BIMSTEC -ด้านคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์- ดร.ศิริพรรณ จิตรประสิทธิศิริ ผู้อำนวยการกลุ่มความร่วมมือพัฒนาทางหลวงระหว่างประเทศ สำนักบริหารโครงการทางหลวงระหว่างประเทศ กรมทางหลวง

2 ผลการศึกษา BIMSTEC Transport Infrastructure and Logistics Study (BTILS) - กรอบนโยบายพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งและบริการการขนส่ง - แผนปฏิบัติการโลจิสติกส์ สอดคล้องกับนโยบาย ของ คค.

3 กรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ (Table ES.1)
โครงสร้างพื้นฐานทางถนน พัฒนาถนนหลักระหว่างประเทศ เป็น AH ชั้น I / II ภายในปี 2020 ประสานการพัฒนาถนนร่วมกันภายในประเทศสมาชิก พัฒนาถนนเชื่อมชายแดน ให้รองรับการคมนาคมขนส่งระหว่างประเทศได้ เร่งรัดการพัฒนาถนนช่วงขาดตอนในพม่า ผ่านกรอบการเชื่อมโยงคมนาคมไทย-พม่า-อินเดีย การขนส่งทางถนน ใช้พาหนะที่ทันสมัย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง ปรับปรุงกฎระเบียบด้านการขนส่ง ให้เอื้อต่อการขนส่งระหว่างประเทศ

4

5

6 แผนงานด้านโลจิสติกส์ (Table ES.2)
พัฒนาถนนหลัก เช่น AH1 ให้ได้มาตรฐาน AH อย่างน้อย Class II พัฒนาจุดเชื่อมต่อการขนส่งระหว่างประเทศ เช่น ท่าเรือ ICD พัฒนาจุดเชื่อมต่อการขนส่งในประเทศ เช่น ศูนย์โลจิสติกส์ พัฒนาการบริหารงานและกฎระเบียบ พัฒนาการอำนวยความสะดวกด้านการค้า พัฒนาด้านการบริการและ IT

7

8 การเชื่อมโยงคมนาคม ไทย-พม่า-อินเดีย

9 การดำเนินงานด้านการเชื่อมโยงคมนาคมไทย-พม่า-อินเดีย
ผลการประชุมระดับรัฐมนตรี 23 ธันวาคม 2546 กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย จีน มอเร่/ตามู กาเล ช่องม้า ปาเล มัณฑะเลย์ พะโคกุ เชียงตุง พุกาม มิถิลา แม่สาย ตองอู สัดส่วนด้านการเงิน: ไทย อินเดีย พม่า พยายี ท่าตอน ย่างกุ้ง เมียวดี/แม่สอด ไทย

10 Thailand การดำเนินงานด้านการเชื่อมโยงคมนาคมไทย-พม่า-อินเดีย
การประชุมระดับรัฐมนตรี 23 ธันวาคม 2546 กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย เตียนซายัด พยายี 30 kms 20 kms Myanmar Thailand พะโค 70 kms 80 kms 30 kms พะอัน ท่าตอน ย่างกุ้ง เมียวดี 40 kms 30 kms 18 kms 28.6 kms มะละแหม่ง 65 kms กอกะเร็ก โครงการที่ดำเนินการโดยฝ่ายไทย 70 kms ขั้นตอนการดำเนินงาน ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2

11 โครงการพัฒนาถนนในพม่า ที่ดำเนินการโดยประเทศไทย
ไป จ.ตาก โครงการสะพานข้ามแม่น้ำเมยแห่งที่ 2 และถนนเชื่อมต่อ Myawaddy Trade Zone ไทย เชิงเขาตะนาวศรี พม่า อ.แม่สอด โครงการปรับปรุงถนนสาย เมียวดี - เชิงเขาตะนาวศรี เมียวดี สะพานมิตรภาพ ไทย-พม่า แห่งที่ 1 แนวเก่า 40 กม. โครงการก่อสร้างถนนสาย เชิงเขาตะนาวศรี – กอกะเร็ก ตลิ่งฝั่งพม่า แนวใหม่28.6 กม. กอกะเร็ก ไปย่างกุ้ง

12 ถนนเชื่อมท่าเรือทวาย

13 รูปแบบการพัฒนาท่าเรือทวาย

14 ถนนจาก ท่าเรือทวาย – ชายแดนไทย (บ.พุน้ำร้อน)
พม่า ไทย ท่าเรือทวาย ทวาย 3445 กาญจนบุรี 3512 แนวเส้นทางโครงการ ถนนเดิมในพม่า ถนนสาย บ.พุน้ำร้อน – ชายแดนไทย/พม่า ทางหลวงของไทย

15 โครงการถนนในไทย สนับสนุนท่าเรือทวาย
Kanchanaburi-border Rd. 2 lanes 70 kms. Construction completed Motorway Bang Yai – BanPong - Kanchanaburi Detailed design completed Phu nam ron Myanmar Thailand Motorway Kanchanaburi - border Under F.S. fiscal yr.2012, 30 M.THB

16 เส้นทางเชื่อมโยงทางถนนจาก ท่าเรือแหลมฉบัง - ท่าเรือทวาย
กาญจนบุรี พุน้ำร้อน บางใหญ่ กรุงเทพ ช่วง ระยะทาง (กม.) ช่องจราจร สถานะ MOTORWAY แหลมฉบัง – กรุงเทพ 130 4-8 เปิดแล้ว วงแหวนด้านใต้ - วงแหวนตะวันตก 40 6-8 บางใหญ่ - กาญจนบุรี 96 4-6 เตรียมหาตัวผู้รับเหมา กาญจนบุรี - พุน้ำร้อน 70 กำลังทำ F.S. ,ปี 55-56, 30 ลบ. พุน้ำร้อน - ท่าเรือทวาย กำลังก่อสร้าง รวม 466 ท่าเรือแหลมฉบัง มอเตอร์เวย์ ถนนเดิม

17 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt ความเชื่อมโยงระหว่างกันใน BIMSTEC -ด้านคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์-

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google