ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPadungsri Anand ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
โครงการรณรงค์รักษาสภาพภูมิอากาศ เพื่อเมืองน่าอยู่ในประเทศไทย
Thailand Cities for Climate Protection Campaign(CCPTM) ดำเนินการโดย ICLEI ร่วมกับ TEI และได้รับความสนับสนุนจาก Canadian International Development Agency (CIDA) มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. พัฒนากระบวนการที่จะช่วยในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ในระยะยาว 2. รณรงค์ลดการใช้พลังงาน นำไปสู่การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโลกร้อนและภาวะมลพิษทางอากาศ ผ่านการดำเนินการของเทศบาล ในระยะแรกนี้จำนวน 6 เทศบาล มีเป้าหมายร่วมกันในการจัดทำบัญชีลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ร่วมรักษาสภาพภูมิอากาศโลกเพื่อสร้างเมืองน่าอยู่ และเพื่อชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีของพลเมือง โดยมีระยะเวลาดำเนินงานประมาณ 30 เดือน (ก.ค พ.ย. 47)
2
ปรากฏการณ์ก๊าซเรือนกระจก หรือปรากฏการณ์โลกร้อน
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) คือตัวการสำคัญที่ทำให้ อุณหภูมิของโลก เพิ่มขึ้น... การเพิ่มขึ้นของ CO2ในชั้นบรรยากาศ ในปี พ.ศ.2534 มีการปล่อย CO2 รวมทั้งโลกในปริมาณสูงถึง 26.4 พันล้านตัน จากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล อย่างถ่านหิน น้ำมันและก๊าซธรรมชาติ รวมทั้งการตัดไม้ทำลายป่า ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วมาก คณะกรรมการระหว่างประเทศว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC) กล่าวว่าภายในปีพ.ศ.2643 (100 ปี ข้างหน้า)โลกจะมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นถึง oC
3
โครงการรณรงค์รักษาสภาพภูมิอากาศเพื่อเมืองน่าอยู่ฯ
CCP TM เทศบาลตำบลปากแพรก อ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช 1. คัดเลือกปีฐานข้อมูลที่จะใช้ในการเก็บข้อมูล ปี 2000 (พ.ศ.2543) จัดทำบัญชีรายการการใช้พลังงาน คำนวณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและคาดการณ์การปล่อยก๊าซเรือนกระจกในอีก 10 ปีข้างหน้า ตั้งเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในอนาคต 20 % 2. พัฒนาแผนปฏิบัติการท้องถิ่น หามาตรการเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติในการลดการใช้พลังงาน และใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด 3. นำมาตรการในแผนปฏิบัติมาสู่การปฏิบัติจริง 4. ติดตาม ตรวจสอบ ความก้าวหน้าของมาตรการต่าง ๆ ที่จะนำมาปฏิบัติ
4
1. วิธีการเก็บข้อมูล เพื่อกรอกลงในแบบฟอร์มการจัดทำบัญชีรายการ
(1) คณะทำงานออกแบบฟอร์มสำรวจข้อมูล อาคารสำนักงาน (Buildings) ไฟฟ้า ฟอร์ม 1: สำรวจข้อมูลหลอดไฟฟ้า ฟอร์ม 2: สำรวจข้อมูล เครื่องใช้ไฟฟ้า ฟอร์ม 3: สำรวจข้อมูล ปริมาณการใช้ไฟฟ้า (ตามมิเตอร์)
5
(1) ออกแบบฟอร์มสำรวจสำรวจข้อมูล (ต่อ)
อาคารสำนักงาน (Buildings) ก๊าซ ธรรมชาติ ฟอร์ม 4: สำรวจปริมาณ การใช้ก๊าซหุงต้ม น้ำมัน ฟอร์ม 5: สำรวจปริมาณการใช้น้ำมันเพื่อเครื่องมือเครื่องใช้สำนักงาน
6
(1) ออกแบบฟอร์มสำรวจสำรวจข้อมูล (ต่อ)
ภาคการขนส่ง (Vehicle Fleet) น้ำมัน โดยแยกเก็บเป็น 5 ประเภท คือ 1. รถยนต์ 2. รถบรรทุกใช้งานเบา 3. รถบรรทุกใช้งานหนัก 4. รถโดยสารของเทศบาล 5. รถจักรยานยนต์ ฟอร์ม 6: สำรวจข้อมูลปริมาณ การใช้น้ำมัน ปี ฟอร์ม 7: สำรวจข้อมูลรายละเอียดการใช้น้ำมันของรถแต่ละคัน
7
ใช้ฟอร์ม 1 เช่นเดียวกับการสำรวจข้อมูลหลอดไฟฟ้า
(1) ออกแบบฟอร์มสำรวจสำรวจข้อมูล (ต่อ) ไฟส่องสว่าง (Streetlights) ใช้ฟอร์ม 1 เช่นเดียวกับการสำรวจข้อมูลหลอดไฟฟ้า ไฟส่องสว่างในสวนสาธารณะ สัญญาณจราจร ไฟส่องสว่างบนถนน แยกเก็บเป็น 3 ประเภท ดังนี้
8
(1) ออกแบบฟอร์มสำรวจสำรวจข้อมูล (ต่อ)
ขยะมูลฝอย (Waste) ฟอร์ม 8: สำรวจข้อมูลรายละเอียดขยะต่อเดือนและปี ฟอร์ม 9: สำรวจข้อมูลรายละเอียดขยะปัจจุบัน ต่อวันในแต่ละเดือน
9
(2) รวบรวมข้อมูล ตั้งคณะทำงาน 3 คน
ทำหน้าที่เก็บรวบรวมข้อมูล และป้อนข้อมูลโดยใช้ MS-Excel แยกเก็บข้อมูล 10 ไฟล์ ตั้งคณะทำงาน 3 คน
10
(3) สรุปและวิเคราะห์ข้อมูล
นำข้อมูลมาสรุปแยกตามปี คำนวณหาปริมาณการใช้ไฟจากหลอดไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้า โดยใช้สูตร x จำนวนชั่วโมงที่ใช้งาน วัตต์จากหลอดไฟ/เครื่องใช้ไฟฟ้า หน่วยการใช้ไฟฟ้า (กิโลวัตต์ชั่วโมง) = 1000 ข้อมูลบางส่วนของบางกองหรือบางงาน ไม่สามารถเก็บข้อมูลย้อนหลังได้ คณะทำงานจึงต้องนำข้อมูลปี 2545 มาคาดคะเนหาข้อมูลปี 2543 และ ปี 2544
11
(4) กรอกข้อมูลลงในแบบฟอร์มการจัดทำบัญชี รายการในส่วนของเทศบาล ของ CCP
อาคารสำนักงาน ขยะมูลฝอย ภาคการขนส่ง ไฟส่องสว่าง
12
(5) ป้อนข้อมูลลงในโปรแกรม CCP เพื่อออกรายงาน
5.1 ป้อนข้อมูลในปีฐานข้อมูล 2000 เพื่อคำนวณหาปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาในปี ค.ศ พร้อมพิมพ์รายงาน
13
(5) ป้อนข้อมูลลงในโปรแกรม CCP… (ต่อ)
5.2 ทำนายปริมาณการใช้ไฟฟ้า น้ำมัน ขยะ โดยนำข้อมูลทั้งหมด ของฐานปี มาหาอัตราการเจริญเติบโต ข้อมูล อัตราการเจริญเติบโต อัตราการเติบโตแบบทวีคูณ ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า ปี 12% 3.1 ข้อมูลปริมาณขยะ ปี 12% 3.1 ข้อมูลน้ำมันเบนซิน ปี * 12% 3.1 ข้อมูลน้ำมันดีเซล ปี * * 10% 2.6 ข้อมูลไฟฟ้าส่องสว่าง 5% (เทียบจากการขยายตัวของเมือง) 1.41 *ที่ไม่ใช้ข้อมูล ปี เพราะมีอัตราการเติบโตสูงเกินไป **ที่ไม่ใช้ข้อมูล ปี เพราะมีอัตราการเติบโตต่ำเกินไป
14
(5) ป้อนข้อมูลลงในโปรแกรม CCP… (ต่อ)
ป้อนข้อมูลที่ได้จากการทำนาย ลงในปีฐานข้อมูล 2010 เพื่อคำนวณหาปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาในอนาคตปี 2010 พร้อมพิมพ์รายงาน 5.3
15
การปล่อยก๊าซ CO2 จากกิจกรรมต่าง ๆ ของเทศบาล ในปี ค.ศ. 2000
(6) เสนอรายการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHG Inventory) การปล่อยก๊าซ CO2 จากกิจกรรมต่าง ๆ ของเทศบาล ในปี ค.ศ. 2000
16
(6) นำเสนอรายการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHG Inventory)
เปรียบเทียบปี คศ และ 2010 ปี 2000 = 1,606 tones ปี 2010 = 3,953 tones การเปรียบเทียบการปล่อยก๊าซ CO2 จากกิจกรรมต่าง ๆ ของเทศบาลปากแพรก ในปีค.ศ และปี ค.ศ.2010
17
(7) ตั้งค่าการลดหรือหลีกเลี่ยงการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
จากข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ข้อ1(6) ผู้บริหารและคณะทำงานของเทศบาลตำบลปากแพรก มองว่าจะสามารถนำเครื่องมือ Balanced Score Card มาใช้ในการบริหารจัดการเมือง ให้มีประสิทธิภาพได้มากขึ้น จึงได้ ตั้งเป้าหมายในการลดและหลีกเลี่ยงการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ให้สำเร็จในปี 2010 (พ.ศ.2553) 20 % พ.ศ.2543 ปล่อยก๊าซเรือนกระจก 1,616 ตัน/ปี มีสาเหตุหลักมาจากการใช้ไฟฟ้าในอาคารสำนักงาน รองมาคือภาคขนส่ง การใช้ไฟส่องสว่างสาธารณะ และขยะ พ.ศ.2553 คาดการณ์ว่า ปล่อยก๊าซเรือนกระจก 3,953 ตัน/ปี 790 ตัน/ปี Reduce 20 % = ในปี พ.ศ.2553
18
2. การจัดทำมาตรการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
(1) ศึกษามาตรการ การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากเมือง ต่าง ๆ ทั่วโลกที่เข้าร่วมในโครงการ CCPTM
19
(2) เรียนรู้การลด/หลีกเลี่ยง การใช้พลังงาน
(2) เรียนรู้การลด/หลีกเลี่ยง การใช้พลังงาน และการใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพ จากสิ่งพิมพ์ จากอินเตอร์เน็ต
20
(3) นำความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้การประหยัดพลังงาน มา สังเคราะห์ และบูรณาการ กับข้อมูลการใช้พลังงานของเทศบาล เกี่ยวกับไฟฟ้า ยานพาหนะ และขยะ ที่สำรวจไว้
21
(4) กำหนดมาตรการในการอนุรักษ์พลังงาน เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
22
โดยมีขั้นตอนในการดำเนินงานดังนี้
(4.1) ตรวจสอบแผนงาน โครงการที่กำหนดไว้ในแผนพัฒนาเทศบาล และงบประมาณประจำปี ว่ามีกิจกรรมใดที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมากำหนดมาตรการให้สอดคล้องกัน
23
โดยมีขั้นตอนในการดำเนินงานดังนี้ (ต่อ)
(4.2) ตรวจสอบชนิดหลอดไฟ เครื่องใช้ไฟฟ้า (คอมพิวเตอร์ เครื่องปรับอากาศ กระติกน้ำร้อน ฯลฯ) ทั้งหมด ที่สามารถจะประหยัดพลังงานได้ พร้อมระบุจำนวน และชั่วโมงการใช้งานในแต่ละวัน/เดือน/ปี จากข้อมูลที่สำรวจไว้เดิม นำมาคิดหามาตรการร่วมกับคณะผู้บริหารและช่างไฟฟ้าของเทศบาล
24
โดยมีขั้นตอนในการดำเนินงานดังนี้ (ต่อ)
(4.3) ตรวจสอบยานพาหนะ และการใช้งาน จากสมุดรายงานประจำรถทั้งหมด และข้อมูลที่สำรวจไว้เดิม นำมาคิดหามาตรการร่วมกับช่างเครื่องยนต์ ของศูนย์จักรกลเทศบาลฯ
25
โดยมีขั้นตอนในการดำเนินงานดังนี้ (ต่อ)
(4.4) คำนวณผลลดปริมาณการใช้พลังงานจากไฟฟ้า และยานพาหนะ ลงในโปรแกรม EXCEL โดยแยกการคำนวณเป็น ก่อนปรับปรุง
26
โดยมีขั้นตอนในการดำเนินงานดังนี้ (ต่อ)
หลังปรับปรุง พลังงานไฟฟ้าที่ประหยัดได้
27
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ
โดยมีขั้นตอนในการดำเนินงานดังนี้ (ต่อ) (4.5) คำนวณผลการลดปริมาณ CO2 โดยโปรแกรม CCP (4.6) สรุปมาตรการในการอนุรักษ์พลังงานลงในตาราง ประกอบด้วยชื่อมาตรการ รายละเอียด ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ปริมาณ CO2 ที่ลดลง สรุปได้ดังนี้ มาตรการที่ 1 : เปลี่ยนชนิดหลอดไฟเป็นหลอดประหยัดพลังงาน ไฟสาธารณะ(สัญญาณไฟจราจร) รายละเอียด มาตรการ เทศบาลมีสี่แยกที่มีสัญญาณไฟจราจร จำนวน 4 จุด ใช้หลอดไฟชนิดหลอดไส้ 60 วัตต์ รวม จำนวน 106 หลอด เปลี่ยนเป็น หลอด LED ขนาด18 และ 25 วัตต์ พร้อมเครื่องนับเวลาถอยหลัง ประหยัดได้ 20, หน่วย สถานภาพโครงการ งบประมาณเทศบาล ปี 3,600,000 บาท (จุดละประมาณ 990,000 บาท) ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ ปริมาณ CO2ที่ลดลง 12 (tonnes)
28
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ
มาตรการที่ 1 : เปลี่ยนชนิดหลอดไฟเป็นหลอดประหยัดพลังงาน ไฟสาธารณะ(สวนสาธารณะ) สวนสาธารณะจำนวน 1 แห่ง ใช้หลอดไส้ 60 วัตต์ จำนวน 48 หน่วย เปลี่ยนมาเป็นหลอดคอมเพ็คฟลูออเรสเซ็นทั้งหมด ประหยัดได้ 5, หน่วย รายละเอียด มาตรการ สถานภาพโครงการ งบประมาณเทศบาล ปี 2547 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ 7,488 บาท ปริมาณ CO2ที่ลดลง 3 (tonnes)
29
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ
มาตรการที่ 1 : เปลี่ยนชนิดหลอดไฟเป็นหลอดประหยัดพลังงาน ไฟฟ้าอาคารสำนักงาน ตลาดสด(ส่วนของเทศบาล)ใช้หลอดไส้ 60 วัตต์ รวมทุกส่วนจำนวน 15 หน่วย เปลี่ยนมาเป็นหลอดคอมเพ็คฟลูออเรสเซ็นทั้งหมด ประหยัดได้ 2, หน่วย รายละเอียด มาตรการ สถานภาพโครงการ งบประมาณเทศบาล ปี 2547 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ 2,240 บาท ปริมาณ CO2ที่ลดลง 1 (tonnes)
30
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ
มาตรการที่ 2 : เปลี่ยนมาใช้อิเล็กทรอนิกส์บัลลาสต์ (เปลี่ยนเมื่อตัวเก่าชำรุด) ไฟสาธารณะ(ไฟถนน) รายละเอียด มาตรการ เทศบาลใช้ไฟถนน(บางส่วน) เป็นชนิดหลอดฟลูออเรสเซ็น 36 วัตต์ โดยใช้บัลลาสต์ขดลวดแกนเหล็กแบบธรรมดา 10 วัตต์ จำนวนทั้งสิ้น ประมาณ1,881 หน่วย เปลี่ยนมาเป็นบัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ 1-2 วัตต์ (ไม่ต้องใช้สตาร์ทเตอร์ และหลอดฟลูออเรสเซ็นจะสามารถใช้งานได้นานขึ้น 2 เท่า) ประหยัดได้ 59, หน่วย สถานภาพโครงการ งบประมาณเทศบาล ปี 2547 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ 592,000 บาท (คำนวณ หน่วยละ 315 บาท) ปริมาณ CO2ที่ลดลง 34 (tonnes)
31
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ
มาตรการที่ 2 : เปลี่ยนมาใช้อิเล็กทรอนิกส์บัลลาสต์ (เปลี่ยนเมื่อตัวเก่าชำรุด) ไฟฟ้าอาคารสำนักงาน รายละเอียด มาตรการ อาคารสำนักงานในความรับผิดชอบของเทศบาลตำบลปากแพรก ใช้ไฟชนิดหลอดฟลูออเรสเซ็น 36 วัตต์ โดยใช้บัลลาสต์ขดลวดแกนเหล็กแบบธรรมดา 10 วัตต์ จำนวนทั้งสิ้น ประมาณ 2,804 หน่วย เปลี่ยนมาเป็นบัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ 1-2 วัตต์ (ไม่ต้องใช้สตาร์ทเตอร์ และหลอดฟลูออเรสเซ็นจะสามารถใช้งานได้นานขึ้น 2 เท่า) ประหยัดได้ 54, หน่วย สถานภาพโครงการ งบประมาณเทศบาล ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ 883,260 บาท (คำนวณ หน่วยละ 315 บาท) ปริมาณ CO2ที่ลดลง 31 (tonnes)
32
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ
ปรับลดแสงสว่างให้เหมาะสม (เปลี่ยนหลอดไฟเมื่อตัวเก่าชำรุด) มาตรการที่ 3 : ไฟสาธารณะ(สวนสาธารณะ) รายละเอียด มาตรการ สวนสาธารณะ จำนวน 3 แห่ง ใช้โคมไฟ POS-TOP ขนาด 125 วัตต์ จำนวน 301 หน่วย ปรับลดแสงสว่างโดยเปลี่ยนเป็นหลอดขนาด 70 วัตต์ ประหยัดได้ 46, หน่วย สถานภาพโครงการ งบประมาณเทศบาล ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ - ปริมาณ CO2ที่ลดลง 26 (tonnes)
33
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ
มาตรการที่ 4 : ปิดจอคอมพิวเตอร์เมื่อไม่ใช้งาน ไฟฟ้าอาคารสำนักงาน รายละเอียด มาตรการ สำนักงานมีเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกอาคาร จำนวน 183 เครื่อง จะสามารถปิดจอคอมพิวเตอร์ช่วงพักกลางวัน และเมื่อไม่ใช้งานเฉลี่ยวันละ 2ชั่วโมงต่อเครื่อง ประหยัดได้ 8, หน่วย สถานภาพโครงการ งบประมาณเทศบาล ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ - ปริมาณ CO2ที่ลดลง 4 (tonnes)
34
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ
มาตรการที่ 5 : ลดชั่วโมงการใช้กระติกน้ำร้อน ไฟฟ้าอาคารสำนักงาน รายละเอียด มาตรการ สำนักงานมีกระติกน้ำร้อนไฟฟ้า จำนวน 42 เครื่อง สามารถลดการใช้งานลงได้ จากการใช้ร่วมกันประมาณ 10 เครื่อง และลดจำนวนชั่วโมงการใช้งานลงได้อีกเฉลี่ยวันละ 2 – 3 ชั่วโมง ต่อเครื่อง ประหยัดได้ 23, หน่วย สถานภาพโครงการ - ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ - ปริมาณ CO2ที่ลดลง 14 (tonnes)
35
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ
มาตรการที่ 6 : ลดเวลาการใช้งานหลอดไฟแสงสว่าง ไฟฟ้าอาคารสำนักงาน รายละเอียด มาตรการ ปิดสวิตซ์หลอดไฟแสงสว่างทุกครั้งเมื่อไม่ใช้งานโดยกำหนดให้ทุกอาคารสำนักงานปิดสวิตซ์หลอดไฟแสงสว่างทุกครั้งเมื่อไม่ใช้งาน จะสามารถลดการใช้ไฟฟ้าลงได้ 5 % เดิมทุกอาคารสำนักงานใช้ไฟฟ้าเพื่อแสงสว่าง ปีละ 306, หน่วย ประหยัดได้ 15, หน่วย สถานภาพโครงการ งบประมาณเทศบาล ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ - ปริมาณ CO2ที่ลดลง 9 (tonnes)
36
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ
มาตรการที่ 6 : ลดเวลาการใช้งานหลอดไฟแสงสว่าง ไฟสาธารณะ(สวนสาธารณะ) รายละเอียด มาตรการ กำหนดให้ไฟเสาสูง ชนิด FCD ในสวนสาธารณะ จำนวน 3 จุด ปิดไฟสลับกัน (เช่น 1 เสา มี 6 ดวง เปิดสลับกันครั้งละ 2 ดวง ประหยัดได้ 22, หน่วย สถานภาพโครงการ - ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ - ปริมาณ CO2ที่ลดลง 13 (tonnes)
37
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ
มาตรการที่ 7 : การเปลี่ยนเครื่องปรับอากาศเป็นชนิดประหยัดพลังงาน(ประหยัดไฟเบอร์ 5) ไฟฟ้าอาคารสำนักงาน เทศบาลมีเครื่องปรับอากาศ จำนวน 94 เครื่อง (ไม่มีชนิดประหยัดพลังงาน)ใช้งานมาแล้ว 1-4 ปี =27 เครื่อง 5-8 ปี= 35 เครื่องและ 8 ปีขึ้นไป 32 เครื่อง เครื่องที่มีอายุการใช้งานนานกว่า 8 ปี และมีชั่วโมงการใช้งานต่อวันมากควรเปลี่ยนใหม่เป็นแบบประหยัดไฟเบอร์ 5 โดยจัดทำเป็นแผนระยะยาว 5 ปี เพื่อเปลี่ยนใหม่ทุกเครื่อง ประหยัดได้ 24, หน่วย รายละเอียด มาตรการ สถานภาพโครงการ งบประมาณเทศบาล และ สนพ. ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ ยังไม่ทราบ ต้องรอผลการสำรวจอีกครั้ง ปริมาณ CO2ที่ลดลง 14 (tonnes)
38
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ
มาตรการที่ 8 : ลดชั่วโมงการใช้เครื่องปรับอากาศ ไฟฟ้าอาคารสำนักงาน ลดชั่วโมงการใช้งานเครื่องปรับอากาศจากเดิมเครื่องละประมาณ 7 – 8 ชั่วโมง ต่อวัน เป็น 6 ชั่วโมงต่อวัน (เปิดเวลา น. ปิดเวลา น. และช่วงพักกลางวัน หรือเมื่อไม่อยู่ในห้องเกิน 1 ชั่วโมง) ประหยัดได้ 31, หน่วย รายละเอียด มาตรการ สถานภาพโครงการ - ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ - ปริมาณ CO2ที่ลดลง 18 (tonnes)
39
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ
มาตรการที่ 9 : ดูแลรักษาและใช้เครื่องปรับอากาศให้ถูกวิธี ไฟฟ้าอาคารสำนักงาน กำหนดข้อปฏิบัติในการดูแลรักษาและใช้เครื่องปรับอากาศ เช่น รายละเอียด มาตรการ - ตั้งอุณหภูมิของเครื่องปรับอากาศที่ 25 oC - ทำความสะอาดแผ่นกรองฝุ่นทุก 15 วัน ฯลฯ ประหยัดได้ หน่วย สถานภาพโครงการ งบประมาณประจำปี ค่าบำรุงรักษาและซ่อมแซมฯ ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ 500,000 บาท ปริมาณ CO2ที่ลดลง 9 (tonnes)
40
ป่าในเมือง ช่วยกำจัด CO2 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ
มาตรการที่ 10 : เติมสีเขียวให้เมือง ป่าในเมือง ช่วยกำจัด CO2 รายละเอียด มาตรการ ร่วมกันปลูกตันไม้ในเมือง เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวในโครงการเพื่อนรักษ์ต้นไม้ ซึ่งได้ดำเนินการมาตั้งแต่ ปีพ.ศ.2543 จนถึง ปี จำนวน 668,909 ต้น เป้าหมาย ปี 2546 – 2552 ปีละ 10,000 ต้น รวม 738,909 ต้น(การคำนวณหาปริมาณ CO2 ที่ลดลงจะนำมาคำนวณเฉพาะต้นที่รอดตั้งแต่ปี 2543 – 2552 เพียง % จะสามารถเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมืองได้ จำนวน 305,000 ต้น ) สถานภาพโครงการ งบประมาณประจำปี (วัสดุเกษตร) ค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ 10,000,000 บาท ปริมาณ CO2ที่ลดลง (tonnes)
41
โดยนำมาใช้กับอาคารหอสมุดเป็นแห่งแรก เมื่อ 1 ต.ค. 46
นำมาตรการในแผนปฏิบัติมาสู่การปฏิบัติจริง 3. โดยนำมาใช้กับอาคารหอสมุดเป็นแห่งแรก เมื่อ 1 ต.ค. 46 ลด CO2 ได้ 22 tones อาคารหอสมุดประชาชนเทศบาลตำบลปากแพรก เป็นอาคาร 2 ชั้นครึ่ง ขนาดกว้าง เมตร ยาว เมตร เจ้าหน้าที่ 25 คน ผู้ใช้บริการเฉลี่ยวันละ 350 คน เปิดบริการปีละ 340 วัน
42
มาตรการ: ลดชั่วโมงการใช้งานต่อวัน และลดจำนวนหลอดไฟ
นำมาตรการในแผนปฏิบัติมาสู่การปฏิบัติจริง 3. มาตรการ: ลดชั่วโมงการใช้งานต่อวัน และลดจำนวนหลอดไฟ Reduce 24.99 % 32, หน่วย = 78, บาท
43
เปรียบเทียบรายละเอียดได้ดังนี้
หลอดไฟฟ้า ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง ลดลง 4, หน่วย = 11, บาท
44
เปรียบเทียบรายละเอียดได้ดังนี้(ต่อ)
เครื่องปรับอากาศ ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง ลดลง 15, หน่วย = 37, บาท
45
เปรียบเทียบรายละเอียดได้ดังนี้(ต่อ)
จอคอมพิวเตอร์ ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง ลดลง 1, หน่วย = 4, บาท
46
เปรียบเทียบรายละเอียดได้ดังนี้(ต่อ)
กระติกน้ำร้อน ก่อน ปรับปรุง หลัง ปรับปรุง ลดลง = 6, หน่วย 16, บาท
47
สวัสดีค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.