ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
2
ความสุขที่กลับมาเหมือนเดิม
โรงพยาบาลบางปะอิน ความสุขที่กลับมาเหมือนเดิม
3
Asthma Clinic รพ.บางปะอิน มุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การรักษาที่ไม่ใช้ยา เน้นรายบุคคล ให้ความรู้เรื่องโรค แนะนำการปฏิบัติตน คำแนะนำรายกรณี การรักษาโดยการใช้ยา(ICS) มาตรฐาน-CPG ครอบคลุม รอบด้าน ต่อเนื่อง เหมาะสม ทำงานเป็นทีมแบ่งหน้าที่กันชัดเจน ใช้แบบฟอร์มในการกำกับงานและ การสื่อสาร มุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างรอตรวจ
4
ขั้นตอนที่ 1 ตรวจสมรรถภาพปอด ซักประวัติอาการผิดปกติ
5
ขั้นตอนที่ 1 ตรวจสมรรถภาพปอด ซักประวัติอาการผิดปกติ
6
ขั้นตอนที่ 2 ประเมินผลการรักษา
ขั้นตอนที่ 2 ประเมินผลการรักษา
7
ขั้นตอนที่ 2 ประเมินผลการรักษา
ขั้นตอนที่ 2 ประเมินผลการรักษา
8
ขั้นตอนที่ 3 เภสัชกรประเมินการใช้ยา
- สอนการใช้ยาชนิดสูดพ่น -ประเมินการพ่นยา
9
ประเมินติดตามการใช้ยาโดยเภสัชกร ทุกครั้งที่มาพบแพทย์
ฟอร์ม
10
ขั้นตอนที่ 4 การรักษาโดยแพทย์
11
ฟอร์ม รูปOPD
12
การดูแลรักษาใน ER - กำหนด guideline ในการดูแลผู้ป่วย - นัดผู้ป่วยเข้าคลินิก
ประเมิน Asthma Scores ครั้งที่1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 Severity 1 2 RR >5 ปี <30 30-40 >40 < 5 ปี <40 40-60 >60 Retraction none >1 Wheezing Exp. Both Dyspnea mild mark % O2 Sat > 95% 92-94 < 91% Total Scores ให้การรักษาโดยแบ่งตาม Scores ที่ได้ ดังนี้ 1. Total Score ≥8 ให้การรักษา Salbutamol NB Stat 3. Total Score < 4 ให้การรักษา - Prednisolone ๏ 6 tab stat Dexamethasone 8 mg v Stat ตามแพทย์เวรพิจารณา Admit หรือ Refer 2. Total Score 4-7 ให้การรักษา - Salbutamol NB ประเมิน Severity Score หลังพ่น 20 นาที ถ้า < 4 ให้ D/C ได้ - Dexamethasone 8 mg v Stat - Salbutamol NB ประเมิน Severity Score หลังพ่น 20 นาที ถ้า < 4 ให้ D/C ได้ - Salbutamol NB หลังพ่น 20 นาที ให้ประเมิน Severity Score ซ้ำ ถ้า Severity Score < 4 ให้ D/C ได้ ถ้า Severity Score > 4 ให้พ่นยาซ้ำ ถ้า Severity Score > 4 หลังพ่นยาซ้ำ 3 ครั้งแล้ว ให้รายงานแพทย์เพื่อ พิจารณาAdmit 12
13
การดูแลรักษาใน Ward CPG การประเมินผู้ป่วยโดยทีม
กรณีซับซ้อน / admit บ่อย จัดทีมลงเยี่ยมบ้าน นัดหมายผู้ป่วยเข้าคลินิก
14
ผลลัพธ์ ภาพรวม จาก สปสช. ปี 2556 รพ.บางปะอิน จัดสรรงบ ( บาท ) HNAME
ภาพรวม จาก สปสช. ปี 2556 HNAME จัดสรรงบ ( บาท ) Asth_Admit < 8 % Asth_ICS รพ.บางปะอิน 215,233 216,200
15
ผลลัพธ์ด้าน Process การติดตามการใช้ยา
ตัวชี้วัด 2555 2556 ร้อยละของผู้ป่วย ใช้ยาพ่นสูดได้ถูกต้อง 98 94.75
16
ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วย
ตัวชี้วัด ปี 55 ปี56 ปี57 ( ไตรมาสแรก) ER Visited 10.8 % 6.7 % 6.4 % Admission rate 5.3 % 4.5 % 3.6 %
17
ผลลัพธ์การลดค่าใช้จ่าย
ตัวอย่างเด็ก 5 ราย ค่ารักษาต่อปี ( บาท ) ผู้ป่วย ก่อนเข้าคลินิก หลังเข้าคลินิก รายที่ 1 12,142 2,044 รายที่ 2 11,479 4,520 รายที่ 3 8,960 7,286 รายที่ 4 6,233 2,160 รายที่ 5 17,560 6,805 ค่าเฉลี่ย 11,274.8 4,563
18
Asthma admission rate near Zero?
19
ปัญหาโรคหืดในเด็ก 1. การวินิจฉัย 2. การดูแลรักษา อาการหอบในเด็ก
20
การพัฒนาการดูแลเด็กโรคหืด
การอบรม จาก รพ.เจ้าพระยายมราช
21
การดำเนินการหลังการอบรม
1.จัดทำ CPG โรคหืดในเด็ก แนวทางเวชปฏิบัติ โรคหอบหืดสำหรับเด็ก คปสอ.บางปะอิน มกราคม 2556
22
การวินิจฉัย ปัจจุบัน การวินิจฉัยใช้ Modified Asthma predictive Index โดยกำหนด Criteria ดังนี้ มีอาการหอบมากกว่า 3ครั้ง ร่วมกับ 1 major criteria หรือ 2 minor criteria Major criteria 1. พ่อ หรือ แม่ เป็นโรคหืด 2. มีประวัติผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง Minor criteria 1. มีอาการหอบโดยไม่ได้เป็นหวัด 2.CBC eosinophil > 4 % 3. มีประวัติ Allergic Rhinitis
23
VIRAL INDUCED WHEEZING
แนวทางการดูแล 1. นัดติดตามอาการซ้ำอีก 1 เดือน ถ้ามีอาการซ้ำอีกให้ Budesonide 200 mcg / วัน นาน 2 เดือน 2 . ถ้า ไม่ดีขึ้น ต้องคิดถึงการวินิจฉัยโรคอื่นๆ หรือถ้าดีขึ้น ให้หยุด Budesonide ถ้ามีอาการหอบอีกให้กลับมารับการรักษา โดยให้การวินิจฉัยเป็น Asthma
24
แนวทางในการรักษา และปรับยา
Step การใช้ยา 1. ß2- agonist as needed 2. ICS (low dose) 3. ICS (low dose) + LABA 4. ICS (medium dose) +LABA 6. ICS (high dose) +LABA 7. ICS (high dose) +LABA + Prednisolone ๏ Salbutamol Inhaler prn Budesonide 1 Puff / day Seretide (25/50) 1x 2 P / day Seretide (25/50) 2 x 2 Seretide (25/125) 1x 2 P / day Seretide (25/125) 2 x 2 Budesonide 1 x 2 + Seretide (25/125) 2 x 2 Budesonide 2 x 2 + Seretide (25/125) 2 x 2 Budesonide 3 x 2 + Seretide (25/125) 2 x 2 +Prednisolone dose ต่ำสุดที่ควบคุมได้
25
แนวทางการปรับลดยา ถ้าผู้ป่วยคุมอาการได้ติดต่อกัน 3 เดือน
ให้ปรับลดยา Steroid ลงทีละ Step ยาอื่นที่ใช้ร่วมให้คงไว้ จนกระทั่งเหลือ Budesonide 1x1 จึงหยุดยาอื่น ถ้าอาการยังควบคุมได้ดีครบ 1 ปี ให้หยุดยาทั้งหมดได้
26
2.จัดทำฟอร์มสำหรับการวินิจฉัยโรคและรักษา
27
แบบฟอร์มสำหรับการวินิจฉัยโรคและรักษา
28
ปัญหา
29
โครงการคัดกรองผู้ป่วยโรคหืดในชุมชน
วัตถุประสงค์ - ค้นหาผู้ป่วยในชุมชนเน้นเด็กเล็ก - เครือข่ายเฝ้าระวัง - จนท.รพ.สต. - ครูเด็กเล็ก - ช่องทางติดต่อกับเรา
30
การดำเนินงาน การคัดกรองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเด็กอนุบาล
การคัดกรองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเด็กอนุบาล จำนวน 32 แห่ง ใน อ.บางปะอิน ทั้ง รร.รัฐบาล และเอกชน
31
เครื่องมือ 1.สื่อให้ความรู้
เครื่องมือ 1.สื่อให้ความรู้
33
ประสานความร่วมมือ การลงพื้นที่ - เจ้าหน้าที่ รพ. สต
ประสานความร่วมมือ การลงพื้นที่ - เจ้าหน้าที่ รพ.สต. - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - ครูและผู้ดูแลเด็ก
34
1.ให้ความรู้ ครู, ผู้บริหาร เ จ้าหน้าที่ รพ.สต. ผู้ปกครอง
36
2. แบบคัดกรองโรคหืดในเด็ก
1
37
ผลของโครงการ ลงพื้นที่ ครบทั้ง 32 แห่ง ในเดือน พย. 2556
ลงพื้นที่ ครบทั้ง 32 แห่ง ในเดือน พย. 2556 รายที่มีอาการชัดเจน ได้รับการส่งต่อผู้ป่วยจาก ผู้ปกครอง ครู และเจ้าหน้าที่ รพ.สต. เข้าระบบการรักษา รายที่ไม่ชัดเจนอยู่ระหว่าง รพ.คัดกรอง และติดต่อให้มารับการตรวจวินิจฉัย
38
การทำงานเชิงรุกในการค้นหาผู้ป่วย ให้ได้รับการรักษาตั้งแต่เริ่มแรก
แผนพัฒนาต่อเนื่อง การทำงานเชิงรุกในการค้นหาผู้ป่วย ให้ได้รับการรักษาตั้งแต่เริ่มแรก กลุ่มเด็ก
39
Asthma admission rate near Zero
การวินิจฉัยเร็ว
40
ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยโรคหืด คือ...ความสุข ความสุขของผู้รับบริการ เรา
ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยโรคหืด คือ...ความสุข ความสุขของผู้รับบริการ เรา
44
ความสุขที่กลับมาเหมือนเดิม
โรงพยาบาลบางปะอิน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.