ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNirund Chuan ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การประชาคมชุมชน โครงการการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
เพื่อออกแบบและก่อสร้างระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างยั่งยืน และระบบแก้ไขปัญหาอุทกภัยฯของประเทศไทย วันพฤหัสที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ เวลา น. ณ ห้องประชุมจุฬามณี 1 สำนักงานเทศบาลนครพิษณุโลก 1
2
กำหนดการ เวลา 13.30 น. ลงทะเบียน
เวลา น. ลงทะเบียน เวลา น. นายกเทศมนตรีนครพิษณุโลก กล่าวเปิดการ ประชาคม เวลา น. ข้อมูลเบื้องต้นแผนแม่บทการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำ เวลา น. คำแนะนำการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน เวลา น. คัดเลือกประชาชนกลุ่มเป้าหมาย เวลา น. ปิดการประชาคม สมิต เสริมนิภารัตน์ ผู้อำนวยการส่วนควบคุมอาคารและผังเมือง เทศบาลนครพิษณุโลก
3
กำหนดการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
การออกแบบและก่อสร้างระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างยั่งยืน และระบบแก้ไขปัญหาอุทกภัยฯของประเทศไทย ณ หอประชุมศรีวชิรโชติ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก วันพุธที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ เวลา 7.00 น น.
4
หน่วยงานผู้รับผิดชอบดำเนินการ
สำนักงานนโยบายและบริหารจัดการน้ำและอุทกภัยแห่งชาติ กระทรวงมหาดไทย โดย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง โดย เทศบาลนครพิษณุโลก
5
แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ
แผนงาน A1 : โครงการอ่างเก็บน้ำอย่างเหมาะสมและยั่งยืนในพื้นที่ลุ่มน้ำปิง ยม น่าน สะแกกรัง และป่าสัก แผนงาน B1 : การสร้างอ่างเก็บน้ำอย่างเหมาะสมและยั่งยืนในพื้นที่ลุ่มน้ำ 17 ลุ่มน้ำ แผนงาน A2 : การจัดทำผังการใช้ที่ดิน/การใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำรวมทั้ง การจัดทำพื้นที่ปิดล้อมพื้นที่ชุมชนและเศรษฐกิจหลัก สำหรับพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา แผนงาน A3 : พื้นที่กักเก็บน้ำหลากชั่วคราว แก้มลิง แผนงาน A4 : การปรับปรุงสภาพลำน้ำสายหลักและการป้องกัน การกัดเซาะตลิ่งริม แม่น้ำในพื้นที่แม่น้ำยม น่าน เจ้าพระยา แผนงาน A5 : การก่อสร้างคลองผันน้ำ แผนงาน A6 B4 : ระบบคลังข้อมูลเพื่อการพยากรณ์และเตือนภัย รวมทั้งการบริหาร จัดการน้ำ แผนงาน B2 : การจัดทำผังการใช้ที่ดิน / การใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำ รวมทั้ง การจัดทำพื้นที่ปิดล้อมพื้นที่ชุมชนและเศรษฐกิจหลักในพื้นที่ลุ่มน้ำ 17 ลุ่มน้ำ แผนงาน B3 : การปรับปรุงสภาพลำน้ำสายหลักและการป้องกันการกัดเซาะตลิ่งริม แม่น้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำ 17 ลุ่มน้ำ
6
พื้นที่ดำเนินงานโครงการ ในจังหวัดพิษณุโลก
แผนงาน A1 : อ่างเก็บน้ำ 1 แห่ง อ. เนินมะปราง ต.ชมพู แผนงาน A2 : พื้นที่ปิดล้อม 2 แห่ง เทศบาลนครพิษณุโลก อ. เมือง เทศบาลตำบลพรหมพิราม อ. พรหมพิราม แผนงาน A3 : พื้นที่แก้มลิง 5 อำเภอ 33 ตำบล อ. บางกระทุ่ม (8 ตำบล) อ. บางระกำ (5 ตำบล) อ. พรหมพิราม (9 ตำบล) อ. เมือง (9 ตำบล) อ. วัดโบสถ์ (2 ตำบล)
7
พื้นที่ดำเนินงานโครงการ ในจังหวัดพิษณุโลก
แผนงาน A2 : พื้นที่ปิดล้อม 2 แห่ง เทศบาลนครพิษณุโลก อ. เมือง เทศบาลตำบลพรหมพิราม อ. พรหมพิราม
8
พื้นที่ดำเนินงานโครงการ ในจังหวัดพิษณุโลก
9
พื้นที่ดำเนินงานโครงการ ในจังหวัดพิษณุโลก
10
พื้นที่ดำเนินงานโครงการ ในจังหวัดพิษณุโลก
ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก : ข้อมูลเผยแพร่โครงการของรัฐ โครงการเพื่อออกแบบและก่อสร้างระบบกำรบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างยั่งยืน และระบบแก้ไขปัญหาอุทกภัยของประเทศไทย ตามแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ (ปิดประกาศที่สำนักงานเทศบาลนครพิษณุโลก ทั้ง 2 แห่ง)
11
คำแนะนำการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
วิธีการ : การประชุมบุคคลที่เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนได้เสียตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ.2548 สถานที่ : หอประชุมศรีวชิรโชติ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก วันเวลา : วันพุธที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 เวลา 7.00 น น.
12
ขั้นตอนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
เวลา 7.00 น. รับลงทะเบียนและตรวจสอบสิทธิ์ในการเบิกค่าเดินทาง เวลา 8.00 น. ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น เข้าประจำที่นั่ง หอประชุมศรีวชิรโชติ กิจกรรมภาคเช้า เวลา 8.00 น. การแสดงนิทรรศการการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำฯ 9 รูปแบบ โดย กบอ. เวลา น. การบรรยายแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำฯ (กลุ่มใหญ่ 1 เวที) โดย อาจารย์สถาบันการศึกษา
13
ขั้นตอนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
กิจกรรมภาคบ่าย เวลา น. การแบ่งกลุ่มเป้าหมายเพื่อรับฟังแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำฯ ในแต่ละด้าน (กลุ่มย่อย 20 เวที) โดย อาจารย์สถาบันการศึกษา เวลา น. หลังเสร็จสิ้นการรับฟังความคิดเห็นฯ ผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น กรอกแบบสอบถาม ใบสำคัญรับเงิน และเบิกจ่ายค่าเดินทางไปกลับ คนละ 400 บาท (จ่ายโดยจนท. ปภ.)
14
คำแนะนำการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
กรุณาศึกษาแผ่นแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและข้อมูลต่างๆ ผู้เข้าร่วมรับฟังฯ ต้องให้ข้อมูลสถานะบุคคล หมายเลขบัตรประจำตัวประชาชน ชื่อ-นามสกุล และที่อยู่ ของตนเองให้ถูกต้องตามความเป็นจริง ระบบจะทำการตรวจสอบยืนยันสถานะบุคคลกับระบบทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย ผู้เข้าร่วมรับฟังฯ กรุณาให้ข้อมูล แบบสอบถาม ให้ครบถ้วน ทุกรายการในแบบฟอร์ม ผู้เข้าร่วมรับฟังฯ กรุณาให้แสดง ข้อดี ผลกระทบ และ ข้อเสียต่างๆ ตามความเป็นจริงที่เกิดขึ้นในจังหวัดของท่าน ตามความเห็นของท่าน เพื่อการประมวลผลที่ถูกต้อง เป็นจริงและสมบูรณ์ ปิดรับแสดงความคิดเห็น หลังจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นฯ ของจังหวัด ภายใน 7 วัน เพื่อประมวลผล และหาข้อสรุปร่วมกับผลการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็น
15
คัดเลือกประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
ประชาชนรับผลโดยตรง/อ้อม 68 คน หน่วยงานระดับจังหวัด 1 คน หน่วยงานระดับท้องถิ่น 1 คน ผู้นำชุมชน คน สถาบันการศึกษา/องค์กรเอกชน 3 คน ศาสนสถาน คน สถานพยาบาล คน หน่วยงานเอกชน/ผู้ประกอบการ 5 คน องค์กรพัฒนาเอกชน (NGO) 5 คน สื่อมวลชน คน ประชาชนทั่วไป - คน รวม 88 คน
16
ขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.