ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยDilok Sintawichai ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
นายธงชัย ขวัญศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีธีร ภาดา
2
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักศึกษาก่อนเรียนและหลังเรียน รายวิชาการบัญชีต้นทุน 2 ภาค เรียน 2/2556 แตกต่างกันอย่างไร
3
เพื่อสร้างแบบฝึกเสริมทักษะเรื่องการบัญชี ต้นทุนมาตรฐาน รายวิชาการบัญชีต้นทุน 2 นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) สาขาวิชาการบัญชี เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักศึกษา เรื่องการบัญชีต้นทุนมาตรฐาน รายวิชาการบัญชีต้นทุน 2 นักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) สาขาวิชา การบัญชี ให้สูงขึ้น
4
ตารางที่ 1 จำนวนร้อยละของนักศึกษา จำแนก ตามเพศและสาขาวิชา ข้อมูลทั่วไปจำนวน ( คน ) ร้อย ละ เพศ ชาย 218.18 หญิง 981.82 รวม 11100.00 สาขาวิชา การบัญชี 11 100.00 รวม 11100.00
5
ตารางที่ 2 จำนวนร้อยละของนักศึกษา จำแนกตาม คะแนนเฉลี่ยสะสม ข้อมูลทั่วไป จำนวน ( คน ) ร้อยละ ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม ระหว่าง 3.50 – 4.0019.09 ระหว่าง 3.00 – 3.49218.18 ระหว่าง 2.50 – 2.99327.27 ระหว่าง 2.00 – 2.49545.46 ระหว่าง 1.50 – 1.99-- ระหว่าง 1.00 – 1.49-- รวม 11100.00
6
ที่ ก่อนเรียน หลังเรียน คะแนนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 13 12945 23 171570 31 111050 40 5525 52 11945 61 141365 79 201155 83 191680 93 201785 103 161470 112 201785 รวม 3 165136 61.82 รวม 3 165136 61.82 ค่าเฉลี่ย 2.73 15.0012.36
7
ที่ ก่อนเรียน หลังเรียน คะแนนเพิ่มขึ้นร้อย ละ 14141050 27171050 33111155 435420 55111050 64141260 79201155 86191470 9520840 104161470 11720735 รวม 5716511150.45 ค่าเฉลี่ย 5.1815.2710.09
8
ส่วนที่ 1 ผู้ศึกษาส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ( ร้อยละ 81.82) มากกว่าเพศชาย เป็นนักศึกษาสาขาการบัญชี ( ร้อยละ 100) วิชาการบัญชีต้นทุน 2 เป็นวิชากลุ่ม วิชาเอกบังคับ ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม อยู่ในระดับปานกลาง ( ร้อยละ 72.73) คะแนนเฉลี่ยสะสมระหว่าง 2.00 – 2.49 มากที่สุด
9
ส่วนที่ 2 การใช้การทดสอบย่อยก่อนการเรียน และหลังเรียนกับนักศึกษาสาขาการ บัญชี ที่เรียนรายวิชาการบัญชีต้นทุน 2 ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่ม ดังกล่าวมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากการทดสอบย่อยแต่ละครั้ง ซึ่ง สอดคล้องกับสมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไว้ แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลการทดสอบย่อย ทีมีต่อการพัฒนาทางการเรียนและ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา ให้สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ สอดคล้องกับ งานวิจัยของจุไรรัตน์ สวัสดิ์, ชลชลิตา แตงนารา และวิมลพร ระแวงวัลย์ (2552 : 63)
10
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.