ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKla Putrie ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การประชุมคณะกรรมการอำนวยการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) กรมอนามัย ครั้งที่ 1 วันที่ 22 ธันวาคม 2552
2
หัวข้อการประชุม 1. การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ประจำปี 2552 2. การพัฒนาระบบ PMQA กรมอนามัย ประจำปี 2552 3. การพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย ประจำปี 2552 4. การจัดทำนโยบายการกำกับองค์กรที่ดี กรมอนามัย ปี 2552
3
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการกรมอนามัย ประจำปี 2552
4
กลุ่มเป้าหมาย กระทรวงนำร่องปี 2551 เพิ่มเติม ปี 2552
กระทรวงการคลัง และส่วนราชการระดับกรม ในสังกัด 9 กรม กระทรวงพลังงาน และส่วนราชการระดับกรม ในสังกัด 5 กรม กระทรวงอุตสาหกรรม และส่วนราชการ ระดับกรม ในสังกัด/ในกำกับ 8 กรม กระทรวงสาธารณสุข และส่วนราชการ ระดับกรม ในสังกัด 9 กรม 4
5
ขั้นตอนการดำเนินการตามระบบการจัดทำคำรับรองและการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองระหว่างส่วนราชการระดับกระทรวงและส่วนราชการระดับกรมในสังกัด(นำร่อง) 1 2 15 16 สำนัก งาน ก.พ.ร กำหนดกรอบการประเมินผล ของกระทรวง เจรจาข้อตกลง และจัดทำ คำรับรองฯ ระดับกระทรวง ติดตามประเมินผล รอบ 6,12 เดือน ระดับกระทรวง จัดสรรสิ่งจูงใจให้ ในระดับกระทรวง ส่งผลคะแนน ให้ ก.พ.ร.รับรอง 3 5 6 8 11 14 17 กำหนดกรอบการประเมินของกรม ให้สอดคล้องกับกรอบของสำนักงาน ก.พ.ร. กรอบ 4 มิติ ปฏิทิน ขั้นตอน แบบฟอร์ม เตรียมการเจรจากับกรม วิเคราะห์ความ เหมาะ สมของ kpi , จัดทำเอกสารประกอบการเจรจา, แต่งตั้ง กก.เจรจา คณะกรรม การเจรจาข้อตกลงของกระทรวง เจรจา KPI, ค่าเป้าหมายและเกณฑ์การให้คะแนนกับผู้บริหารกรม ตรวจ สอบความถูกต้องของ คำรับรอง ตรวจสอบ KPI Template ประเมินผล วิเคราะห์ SAR รอบ 6,12 เดือน Site visit 6,12 เดือน ประเมินผล 12เดือน จัดสรรสิ่งจูงใจ กำหนดหลักเกณฑ์ และจัดสรรสิ่งจูงใจให้ส่วนราชการ ระดับกรม กระ ทรวง (นำร่อง) 7 9 10 12 13 18 4 จัดทำคำรับ รอง ผู้บริหารของกรมลงนามคำรับรองกับกระ ทรวง จัดทำราย ละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template) ปฏิบัติราช การ ตามคำรับรอง รายงานผล กรอก e-SAR-Card รอบ 6, 9, 12 เดือน ส่งรายงาน 6,12 เดือน จัดสรรสิ่งจูงใจให้แก่ข้าราช การในสังกัด กรม กำหนดยุทธศาสตร์ของกรม เสนอ kpi ตามแผน ยุทธศาสตร์ของกรม
6
โครงสร้างและบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ/คณะทำงานที่เกี่ยวข้อง
1. คณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวง...... แต่งตั้งโดย รัฐมนตรีว่าการกระทรวง 2. คณะกรรมการเจรจาข้อตกลงและประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของส่วนราชการในกระทรวง...... แต่งตั้งโดย คณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ในกระทรวง...... 3. คณะทำงานจัดทำคำรับรองและประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของส่วนราชการในกระทรวง...... 4. คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการประจำกระทรวง (ค.ต.ป. ประจำกระทรวง) ค.ต.ป. ประจำกระทรวง ของกระทรวงนำร่อง
7
กระบวนการจัดทำคำรับรอง
กพร. กรมอนามัย ระดับกระทรวง ระดับกรม 1. กระทรวงฯจัดส่งแผนที่ยุทธศาสตร์ให้ ส.กพร. 2. ส.กพร.วิเคราะห์แผน ยุทธศาสตร์กระทรวง 3.ส.กพร.เจรจา KPIs กับกระทรวง/กลุ่มภารกิจ 4.จัดทำคำรับรองระดับกระทรวง/กลุ่มภารกิจ 1. กรมจัดทำแผนที่ยุทธฯ(SM)ให้ กระทรวง 2. กระทรวงแต่งตั้งคณะ กรรมการ 3 ชุด 3. คณะที่ 3 กำหนดกรอบการประเมินเบื้องต้น 4. กรมจัดทำคำรับรอง (4 มิติ) เสนอคณะที่ 3 5.คณะที่ 2 เจรจากับกรม 6. กรมจัดทำคำรับรอง 7. กรมโดยหน่วยเจ้าภาพ KPIs จัดทำรายละเอียด พร้อม Template 8. กรมรายงานผลรอบ 6,9 และ 12 เดือน ระดับหน่วยงาน 1. กรมชี้แจงกรอบคำรับรอง / SM กรม 2. หน่วยงานจัดทำ SM รองรับเป้าหมายกรม 3. หน่วยงานจัดทำคำรับรอง (4มิติ)เสนอ 4. หน่วยงานเจรจาตกลงกับกรม 5. จัดพิธีลงนามคำรับรอง 6. หน่วยงานจัดทำราย ละเอียดการประเมิน KPIs ส่งกองแผน 7.หน่วยงานรายงานผลรอบ 6,9 และ 12 เดือน พิธีลงนามคำรับรอง(ธค.51) ถ่ายทอดเป้าหมายสู่ระดับกรม
8
กรอบการประเมินระดับกระทรวง (KPI 2)
ตัวชี้วัดที่ น้ำหนัก (ร้อยละ) เกณฑ์ 1.1.1) ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบสุขภาพที่ตอบสนองต่อปัญหาของจังหวัดชายแดนภาคใต้ 3 2 ขั้นตอน +ผลลัพธ์ 1.1.3) ร้อยละสถานบริการที่มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด 1 ผลลัพธ์ (65+/-5) 1.1.5) ระดับความสำเร็จในการลดอัตราป่วย/ตามด้วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ (โรคหลอดเลือด / โรคหัวใจ / โรคเนื้องอกร้าย / โรคเบาหวาน / โรคความดัน / ) 4 (เป็นร้อยละ) 1.1.6) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร (สุ่มตรวจอาหารสด / ตลาดสด / ร้าอาหาร / แผงลอย ตามแนวทาง กสธ.) 2 5 ขั้นตอน (เชื่อมโยงกับจังหวัด)
9
กรอบการประเมินระดับกลุ่มภารกิจ การพัฒนาสาธารณสุข (KPI 2)
ตัวชี้วัดที่ น้ำหนัก (ร้อยละ) เกณฑ์ 2.1) จำนวนโรงพยาบาลมีกระบวนการเป็น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ - ในสังกัด - นอกสังกัด 3 1 ขั้นตอน +ผลลัพธ์ (178+/-10 15+/-5) 1.2) ร้อยละของหน่วยงานสาธารณสุข ที่สามารถปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพตามมาตรฐานที่กำหนด (40 %) 1.3) ระดับความสำเร็จในการจัดการผลงานวิชาการในการส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ รวมทั้งอนามัยสิ่งแวดล้อม 4 3 ขั้นตอน +ผลลัพธ์ (50% และ 1เรื่อง)
10
การพัฒนาระบบ PMQA กรมอนามัย ประจำปี 2552
11
แนวคิดในการพัฒนาเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐาน
มุ่งเน้นให้ส่วนราชการนำไปปฏิบัติมากกว่าการเขียนรายงาน เน้นการวิเคราะห์กระบวนการอย่างเป็นระบบและการสร้างความเชื่อมโยงกับผลลัพธ์ ใช้ประโยชน์จากข้อมูลและตัวชี้วัดที่ส่วนราชการเก็บอยู่ เน้นการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและบูรณาการ เน้นการพัฒนามากกว่าการได้รางวัล
12
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ในระดับพื้นฐาน (Fundamental Level)
ประกอบด้วย 7 หมวด รวม 52 ประเด็น แต่ละประเด็นเป็นการมุ่งเน้นกระบวนการ และระบบงานพื้นฐาน ที่จำเป็นเพื่อตอบสนอง พรฎ.GG.ในเรื่องต่าง ๆ ส่วนราชการต้องดำเนินการในแต่ละประเด็นให้ครบในทุกข้อและทุกหมวด มีแนวทาง(มีระบบ) (A) มีการนำไปใช้จริง เริ่มเกิดผล (D) มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง มีการพัฒนา มีความก้าวหน้า เริ่มบูรณาการกับระบบงานอื่น ๆ (I) (L)
13
ขั้นตอนดำเนินการของส่วนราชการ
ทำการประเมินตนเองภายใต้กรอบ Fundamental Level ระบุจุดที่ยังต้องพัฒนา(OFI) จัดทำแผนพัฒนาและปรับปรุงประจำปีให้สอดคล้องกับ OFI เป็นรายหมวด โดยระบุตัวชี้วัดที่เป็นผลลัพธ์ให้ชัดเจนด้วย (ส่ง มกราคม 52) ดำเนินการปรับปรุงตามแผนที่กำหนด วัดผลความสำเร็จที่ ) การดำเนินการตามแผนที่กำหนด ) ผลลัพธ์ตามที่กำหนดในแผน ) ผลลัพธ์ตามหมวด 7 (ภาพรวม) ) รายงานการประเมินตนเอง & แผนปรับปรุงปี 53
14
Roadmap การพัฒนาองค์การ
ตัวอย่าง 2554 2552 2553 1 5 2 กรมด้านบริการ 3 6 4 เน้นความสำคัญกับผู้รับบริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1 4 3 กรมด้านนโยบาย 2 6 5 เน้นความสำคัญของยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบการวัดผลการดำเนินการที่เป็นระบบ
15
เกณฑ์การประเมินเรื่อง PMQA ปี 2552
ลำดับ เกณฑ์ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 14.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์กร 2 หมวด - ร้อยละของจำนวนข้อที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพ PMQA ขั้นพื้นฐาน ของหมวดนั้น หมวดละ 4 คะแนน) - ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักใน การบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการ ดำเนินการตามแผน(2 แผนงาน แผนละ 2 คะแนน) 8 4 14.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ของส่วนราชการตามเกณฑ์คุณภาพฯขั้นพื้นฐาน (หมวด 7) 14.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความครบถ้วนของการประเมินองค์กร (หมวด P+52 ประเด็น) และการจัดทำแผนพัฒนาองค์กร (ปี 53 รายหมวดอีก 2 หมวด) รวมคะแนนร้อยละ 20 กพร. กรมอนามัย
16
การพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย ประจำปี 2552
17
การเรียนรู้ความคาดหวังของ C/SH (หน่วยงานภาครัฐ)
ความคาดหวังให้กรมอนามัยเป็นองค์กรหลักในด้านใด การผลิตองค์ความรู้ การถ่ายทอดองค์ความรู้ การพัฒนาและผลักดันนโยบายและกฎหมาย ความพึงพอใจต่ำสุด จำนวนสื่อที่สนับสนุนไม่เพียงพอ / ไม่ทันกาล การบริการของ จนท.ไม่ประทับใจ ไม่มั่นใจต่อความ สามารถของ จนท.กรม ความพึงพอใจสูงสุด องค์ความรู้ / เทคโนโลยี ในการแก้ไขปัญหาดี การถ่ายทอด พัฒนาเครือข่าย ประชาชน รูปแบบ/เนื้อหาสื่อที่ผลิตมีความเหมาะสม นโยบายของกรมอนามัยเป็นที่ยอมรับของภาคีเครือข่าย
18
ศูนย์การพัฒนา ขีดความสามารถของเครือข่ายและประชาชน
วิสัยทัศน์กรมอนามัย “เป็น องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี” องค์กรหลัก ศูนย์การพัฒนา ขีดความสามารถของเครือข่ายและประชาชน 4 เป็นผู้แทน / ศูนย์ความร่วมมือระหว่างประเทศ 5 1 3 เป็นศูนย์ องค์ความรู้ / Technology /นวัตกรรม เป็นแกนหลัก ในการพัฒนาความเข้มแข็งของระบบงาน เป็นหลักในการสร้าง/ผลักดันนโยบายและกฎหมาย 2
19
1 H E A L T H กรมอนามัยจะยังคง Vision/Mission /Share value เดิม ?
วิสัยทัศน์ “เป็น องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี” พันธกิจ 2) ถ่ายทอดและผลักดัน/สนับ สนุน(Transfer technology & Facilitator) ให้เครือข่ายสามารถจัดการ สวล.& ส่งเสริมสุขภาพได้ ตามหลักวิชาการมาตรฐานและกฎหมาย 1) ผลิต พัฒนาองค์ความรู้ นวัตกรรม (Innovation and Technical Development) ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนไทย 3) พัฒนา ผลักดัน และสนับสนุนให้เกิดนโยบาย และ กฎหมายที่จำเป็น (Policy and Regulation Advocacy) 4) พัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เข้มแข็ง (System Capacity Building) (เสาหลัก)วัฒนธรรมองค์กรกรมอนามัย H E A L T H กพร. กรมอนามัย
20
นโยบายการพัฒนาระบบ PMQA ปี 2552
ให้เน้นการนำ PMQA มาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามพันธกิจ และ ยุทธศาสตร์ โดยต้องประสานการพัฒนา PMQA เข้ากับงานประจำขององค์กร ต้องมีกลไกที่ดำเนินการที่เป็นเอกภาพและมีการ บูรณาการ (ทั้งหน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ /หน่วยงานเจ้าภาพระบบบริหารงาน) ปรับปรุงบทบาทของทีม Fast Track ให้เป็น Facilitator ที่คอยสนับสนุนช่วยเหลือหน่วยงานหลัก รวมทั้งทำหน้าที่ M&E ในเรื่อง PMQA ด้วย กพร. กรมอนามัย
21
นโยบายการพัฒนาระบบ PMQA ปี 2552
เพื่อให้เกิดการประสานงานที่ดี จึงให้กำหนดบทบาทหน้าที่(Role and Function) ของหน่วยงานให้ชัดเจน หน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ หน่วยงานเจ้าภาพระบบบริหารงานกลาง หน่วยงานย่อย หน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ ต้องเป็นหลักในการใช้ PMQA ในดำเนินการงาน โดยวิเคราะห์ความเสี่ยง วางระบบงาน กระบวนงานหลัก กำลังคนที่ต้องพัฒนา และระบบ IS เพื่อให้มั่นใจว่า ยุทธศาสตร์จะบรรลุผล หน่วยงานเจ้าภาพระบบบริหารงาน ต้องกำหนด“ระบบงานเป้าหมาย”ที่จะพัฒนาในแผนพัฒนาองค์กร (โดยวิเคราะห์จากเกณฑ์ PMQA และ OFI ของหมวด1-6) และจัดทำแผนพัฒนา“ระบบงานเป้าหมาย” ที่สนับสนุนยุทธศาสตร์ โดยจำแนกบทบาทของหน่วยงานเจ้าภาพ(PO) กับ หน่วยงานย่อยที่ประสานสอดคล้องกัน กพร. กรมอนามัย
22
เป้าหมายการพัฒนาระบบราชการ ของกรมอนามัย ??
3 ปี 2552 กรมอนามัยจะเสนอเข้ารับรางวัล ประเภท 1 หรือ 2 เกณฑ์รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA) ภายในปี 54 ประเภทที่ 1 รางวัล“คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ” (350 คะแนน) (TQC) ประเภทที่ 2 รางวัล “Successful Level” ประเภทที่ 3 รางวัล “Fundamental Level” ทุกหมวด ปี 53 ปี 52
23
1) ต้องบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์กรมอนามัย
4 กรอบแนวคิดใหม่ที่ กรมอนามัยจะตอบโจทย์ 2) ต้องดำเนินการตามเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ก.พ.ร. ตาม “คำรับรอง” 3) ต้องพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐให้ได้ตาม เกณฑ์ PMQA หมวด 7 กพร. กรมอนามัย
24
การเชื่อมโยง PMQA เข้ากับงานประจำ (ยุทธศาสตร์เป็นตัวตั้ง)
4 หมวด 3 ความต้องการของ C/SH. นโยบายรัฐบาล/กท.สธ. สภาพปัญหา HP./Env.H. หมวด 1 การนำองค์กร กำกับดูแลตัวเองที่ดี Vision / Mission / Share value OFI องค์กร การวิเคราะห์ความเสี่ยง หมวด 2 แผนยุทธศาสตร์ SLM./Obj./KRI./Target/Strategy การถ่ายทอดเป้าหมาย(KPI) สู่หน่วยงาน (SMหน่วยย่อย) หมวด 6 การปรับกระบวนงานหลัก/สนับสนุน หมวด 5 การวางระบบงาน / HRD./การประเมินบุคคล/กระบวนทัศน์ค่านิยม/ธรรมจรรยา หมวด 4 การวัด ระบบสารสนเทศ และ ระบบ KM. คำรับรอง หมวด 7 ผลลัพธ์ 4 มิติ กพร. กรมอนามัย
25
บทบาทของเจ้าภาพประเด็นยุทธศาสตร์/ระบบ
4 เจ้าภาพประเด็นยุทธศาสตร์ หน่วยงานเจ้าภาพระบบ 1.กำหนดเป้าหมายยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับนโยบายกระทรวง/กรม 1.กำหนดเป้าหมายการพัฒนาระบบที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์กรม อ./ส.กพร./PMQA สนับสนุน 2.วางกลไกการพัฒนาระบบ 2.จัดทำ SM/SLM กรม 4.แผนRM/ ผลกระทบ(-) 3.กำหนดบทบาท 3.จัดทำSM/SLM หน่วยงาน 3.1 หน่วยงาน เจ้าภาพเอง 3.2 หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง 5.กบง.หลัก 6.ระบบงาน 4.แผนปฏิบัติ & สนับสนุน 7.IS 8.HRD 9.CRM 5.แผนการประเมินผล(A3) 10.แผนKM กพร. กรมอนามัย
26
การกำหนดหน่วยงานเจ้าภาพ สำนัก ว. (กอง สอ./ศกม./ศูนย์ Lab)
5 ประเด็นยุทธศาสตร์ หน่วยงานเจ้าภาพ 1 การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก สำนัก ส. (กอง อพ./ท./ภ.) 2 การลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น กอง อพ. (กอง ท./กอง ภ./สำนัก ส.) 3 การแก้ไขปัญหาโรคอ้วนในคนไทย กอง ภ.(หลัก)/กอง อ. 4 การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สำนัก ส. (กอง ท. / ภ./อ.) 5 การพัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ สำนัก ว. (กอง สอ./ศกม./ศูนย์ Lab) 6 ส่งเสริมการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กอง สช. (ศกม./ศูนย์Lab)
27
การกำหนดหน่วยงานเจ้าภาพ
5 หมวด ระบบงานบริหารงาน (กรม) หน่วยงานเจ้าภาพ 1 กพร. สลก.(การสื่อสาร) กตส.(Internal Audit) 2 กองแผนงาน 3 สลก.ร่วมกับ กพร. 4 สนง.สนับสนุน KM 5 กองการเจ้าหน้าที่ 6 สำนัก ส./สำนัก ว. และ กองคลัง การสื่อสาร สู่บุคลากร ระบบกำกับดูแลองค์การที่ดี ระบบตรวจสอบภายใน ระบบแผนงาน และถ่ายทอด ระบบ RM ระบบการเรียนรู้ความต้องการของ C/SH ระบบการสร้างคววมสัมพันธ์ C/SH ระบบ ฐานข้อมูล ระบบ KM ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล (HRM) ระบบสร้างความพึงพอใจ/ความผาสุก ระบบการพัฒนากระบวนงานสร้างคุณค่า/สนับสนุน
28
กลไกการพัฒนาระบบ PMQA ปี 2552
6 กลไกการพัฒนาระบบ PMQA ปี 2552 ปรับกลไกคณะกรรมการ PMQA ให้มีความเป็นเอกภาพในการขับเคลื่อน และเชื่อมโยงทุกหมวด ดูแลทั้งคำรับรองฯ และ PMQA ปรับบทบาทของทีม Fast Track ให้เป็น Facilitator ให้กับหน่วยงานเจ้าภาพ หรือ Process Owner ในทุกเรื่อง ที่ประชุมกรม (คณะกก. กพร.) กรมอนามัย คำรับรอง พัฒนาPMQA คณะกรรมการอำนวยการ CCO/ผู้บริหารหน่วยเจ้าภาพ (กพร.เป็นเลขาฯ) หน่วยงานเจ้าภาพ หน่วยงานเจ้าภาพ/ Process Owner Auditor Mentor คณะกก.สนับสนุน PMQA (24 คน) Facilitator หน่วยงานย่อย คณะ กก. (ตามจำเป็น) ทีม PMQA (CA)หน่วย งานย่อย หน่วยงานย่อย คณะ กก. หมวด 1 2 3 4.1 6 4.2 5 7 กพร. กรมอนามัย
29
ประเด็นเสนอเพื่อการพิจารณา
ที่ประชุมเห็นชอบตามมติที่ประชุมผู้บริหาร (6-7 พ.ย.51) การทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ และ วัฒนธรรมองค์กร นโยบายการพัฒนาระบบราชการ ปี 2552 เป้าหมายการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย(52-54) กรอบแนวคิดในการให้ยุทธศาสตร์เป็นตัวตั้ง การกำหนดหน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ / ระบบงาน กลไกการพัฒนาระบบราชการ ปี 52
30
เป้าหมายการพัฒนาระบบราชการ ของกรมอนามัย ??
3 ปี 2552 กรมอนามัยจะเสนอเข้ารับรางวัล ประเภท 1 หรือ 2 เกณฑ์รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA) ภายในปี 54 ประเภทที่ 1 รางวัล“คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ” (350 คะแนน) (TQC) ประเภทที่ 2 รางวัล “Successful Level” ประเภทที่ 3 รางวัล “Fundamental Level” ทุกหมวด ปี 53 ปี 52
31
Fundamental level เป้าหมาย52 ยุทธศาสตร์
การผสมผสาน PMQA เข้ากับ 6 ประเด็นยุทธศาสตร์และงานระจำ ยุทธศาสตร์ คณะกก. อนก.PMQA หน่วยงานเจ้าภาพ ประเด็นยุทธ์ หน่วยงานเจ้าภาพระบบงาน SM/SLM 6 แผ่น ที่ใช้แนวคิด PMQA แผนพัฒนา ระบบ GG. แผนพัฒนาระบบรายหมวด 1 2 3 4 5 6 คำรับรองฯ กรม (SM กรมที่บูรณาการกับระบบงาน) แผนพัฒนาระบบงานบูรณาการ ชี้แจง หมวด 2 กองแผนฯ จัดทำเกณฑ์ ประเมิน KPI คำรับรองหน่วยงาน SMหน่วยงาน ติดตาม/ ประเมินผล รายงาน ภาพรวม KPI มิติ 1(เป้าหมายยุทธศาสตร์) ดำเนินการ ตามแผน ปฏิบัติการ การ จัดทำ รายงาน KPI มิติ2-3 (กพร./GG) KPI มิติ4 (PMQA)
32
ประเด็นเสนอเพื่อการพิจารณา
จะมีวิธีการบูรณาการเรื่อง PMQA เข้ากับประเด็นยุทธศาสตร์ 6 ประเด็นอย่างไร ? ตามเป้าหมายปี 52 เพื่อให้บรรลุเกณฑ์ Fundamental Level จึงขอให้ทุกเจ้าภาพระบบงานจัดทำแผนพัฒนาระบบที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
33
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ประจำปี 2552
34
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการระดับกรมและระดับหน่วยงาน
กำหนดตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินผลระดับกรม เจ้าภาพจัดทำ KPI Template เจ้าภาพกำหนดตัวชี้วัดและเกณฑ์ประเมินระดับหน่วยงาน เจรจาตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ลงนามคำรับรองฯระดับกรม ชี้แจงแนวทาง /เกณฑ์ประเมินให้แก่หน่วยงาน หน่วยงานจัดทำคำรับรองฯ รายงาน SAR รอบ 6 เดือน รับการ Site Visit ครั้งที่ 1 จากคณะทำงานชุด 3 การเจรจาตัวชี้วัดและเป้าหมาย การลงนามคำรับรองฯระดับหน่วยงาน รายงาน SAR รอบ 9 เดือน รับการสำรวจความพึงพอใจจากผู้ประเมินอิสระ หน่วยงานรายงาน SAR รอบ 6 เดือน หน่วยงานรายงาน SAR รอบ 9 เดือน หน่วยงานรายงาน SAR รอบ 12 เดือน รายงาน SAR รอบ12 เดือน รับการ Site Visit ครั้งที่ 2 จากคณะทำงานชุด 3 เจ้าภาพประเมินคะแนนให้หน่วยงาน นำผลการประเมินเชื่อมโยง กับการจัดสรรสิ่งจูงใจ
35
เป้าหมายการพัฒนาระบบราชการปี 2552 ที่กรมอนามัยพิจารณาแล้ว
มิติ : ประสิทธิผล(45%) มิติ : ประสิทธิภาพ(20%) กองแผนฯ/เจ้าภาพยุทธ์ การบรรลุเป้าหมายระดับกระทรวง บรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ (13) บรรลุเป้าหมายร่วมระหว่างกระทรวง (5) ความสำเร็จเรื่องศูนย์บริการร่วม (2) 8)ร้อยละการเบิกจ่ายงบลงทุน กอง ค. 9) ระบบตรวจสอบภายใน กตส. 2) การบรรลุเป้าหมายระดับกลุ่มภารกิจ 10 10) ระบบต้นทุนต่อหน่วยฯ กอง ค. 3) การบรรลุเป้าหมายระดับ กรม บรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์กรม (10) บรรลุผลผลิตตามเอกสารงบฯ (5) 11) การประหยัดพลังงาน สลก. 13) แผนพัฒนา กม ศกม. ตัวชี้วัด ก.พ.ร.ปี52 14) ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) 4) ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ สลก./กพร. คกก.สนับสนุนฯ/เจ้าภาพระบบงานฯ 6) การป้องกันปราบปรามทุจริต กอง จ. 7) การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารราชการ สลก. มิติ : พัฒนาองค์กร(20%) มิติ : คุณภาพบริการ(15%) กพร. กรมอนามัย
36
ประเด็นเพื่อการพิจารณา
กำหนด KPIs การประเมินผลการปฏิบัติฯ ในคำรับรองของกรมอนามัย (14 KPIs) ขอให้หน่วยงานเจ้าภาพจัดเตรียมรายละเอียดการประเมินผล(Template)เสนอกระทรวง การจัดทำคำรับรองของหน่วยงานในสังกัดกรม จะรอการจัดทำ SM/SLM หรือไม่ ? ถ้าไม่รอ ก็จะใช้ Map แบบปีที่แล้วลงนามไปก่อน (ปลาย ม.ค.52) ส่วน PMQA ก็ให้เป็นไปตามกระบวนการของหมวด ถ้ารอ จะได้ Map ที่เชื่อมโยงกับPMQA (หมวด2 & หมวด 7) แต่อาจต้องลงนามคำรับรองได้ ช่วง มี.ค.52 พิจารณาปฏิทินการดำเนินการเรื่องคำรับรองฯระดับกรม/หน่วยงานย่อย ตามกรณี 2.1 หรือ 2.2
37
ปฏิทินการปฏิบัติงานพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย
กิจกรรม วันที่ หมายเหตุ 1) ประชุมผู้บริหารกรม (เพื่อวางกรอบการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย) 6-7 พย. 52 2) กพร.ร่วมกับกองแผนงาน บูรณาการ St.Map กรม(ภาพรวม) เพื่อนำไปใช้ที่ สะเมิง (นพ.อมร ฯ) 14 พย.52 3) กองแผนและทีมจัดทำแผนเชื่อมโยงยุทธศาสตร์(SLM) 2 รุ่น 19-21 พย มค.52 4) ประชุมปรึกษาหารือทีม FT 26 พย. 51 5) แต่งตั้งคณะกรรมการ (2 คณะ) 4 ธค.51 6) ประชุมคณะสนับสนุน PMQA เตรียมจัดทำแผนพัฒนาระบบ 9 ธค.51 7) ประชุมคณะ อนก.PMQA เตรียมจัดทำคำรับรองฯ กรม และกำหนดนโยบาย GG.(การกำกับดูแลองค์กรที่ดี) 22 ธค.51 8) ส.ก.พ.ร.จัดการเจรจากับกระทรวง/กลุ่มภารกิจ 19 ธค. 51 9) คณะสนับนุนPMQA จัดทำแผน รายหมวด1-6 9, 23 ธค.51 10) คณะกก.อนก.พิจารณากำหนด KPIs ในคำรับรองฯของกรม(ทั้ง 4 มิติ) 29/30 ธค.51 กพร. กรมอนามัย
38
ปฏิทินการปฏิบัติงานพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย
กิจกรรม วันที่ หมายเหตุ 12) กระทรวงจัดการเจรจาคำรับรองกับ กรมต่างๆ ปลาย ธค.51 13) กระทรวงจัดพิธีลงนามคำรับรองกระทรวง/กลุ่มภารกิจ/กรม กลาง มค.52 กรณี 2.1 วันที่ หมายเหตุ 14) กรมโดยหน่วยงานเจ้าภาพจัดทำรายละเอียดการประเมิน KPIs ตาม (10) พร้อมจัดทำ Template ที่ส่งให้กระทรวง สธ./ให้หน่วยย่อย ภายใน 12 มค.52 15) คณะ อนก. จัดประชุมชี้แจงเกณฑ์ประเมิน KPI พร้อม Template แก่หน่วยงานย่อย 19-20 มค.52 16) หน่วยงานย่อยจัดทำคำรับรองฯส่งกรม 30 มค.52 17) คณะ กก. อำนวยการให้ความเห็นชอบคำรับรองของหน่วยงาน 4 กพ.52 18) จัดพิธีลงนาม “คำรับรอง”หน่วยงาน กับ กรม 10 กพ.52 กพร. กรมอนามัย
39
ปฏิทินการปฏิบัติงานพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย
กรณี 2.2 วันที่ หมายเหตุ 14) กรมโดยหน่วยงานเจ้าภาพจัดทำรายละเอียดการประเมิน KPIs ตาม (10) พร้อมจัดทำ Template ที่ส่งให้กระทรวง สธ. ภายใน 12 มค.52 15) กองแผนฯรวบรวม SM/SLM 6 ประเด็นยุทธ์ เพื่อทำ Map กรม และ ส่งให้เจ้าภาพระบบวิเคราะห์เพื่อเตรียมแผนสนับสนุนยุทธศาตร์ ..... มค.52 16) กองแผนฯจัดประชุม หน่วยงานเจ้าภาพระบบและยุทธศาสตร์ร่วมกัน เพื่อจัดทำแผนบูรณาการและการถ่ายทอดเป้าหมายสู่หน่วยงานย่อย .... มค. 52 .... กพ. 52 จะรวม KPI หมวด 7 17) หน่วยงานเจ้าภาพจัดทำรายละเอียดการประเมิน KPIs ตาม (15) พร้อมจัดทำTemplate ให้หน่วยงานย่อย ภายใน 18 กพ.52 18) คณะ อนก. จัดประชุมชี้แจงเกณฑ์ประเมิน KPI พร้อม Template แก่หน่วยงานย่อย 25-26 กพ.52 19) หน่วยงานย่อยจัดทำคำรับรองฯส่งกรม 11 มีค.52 20) คณะ อนก.ให้ความเห็นชอบคำรับรองของหน่วยงาน 16 มีค.52 21) จัดพิธีลงนาม “คำรับรอง”หน่วยงาน กับ กรม 20 มีค.52 กพร. กรมอนามัย
40
การจัดทำนโยบายการกำกับองค์กรที่ดี กรมอนามัย ปี 2552
44
ขั้นตอนการจัดทำ 1.กำหนดผู้รับผิดชอบจัดทำนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี
ขั้นตอนการเตรียมการ 1.กำหนดผู้รับผิดชอบจัดทำนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี 2. จัดประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ ขั้นตอนการจัดทำร่างนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี 3. ทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมหลัก 4. กำหนดร่างนโยบายหลัก 4 ด้าน 5. กำหนดแนวทางปฏิบัติภายใต้นโยบายหลัก 4 ด้าน ขั้นตอนการนำ ไปปฏิบัติและ ประเมินผล 6. ขออนุมัติและการประกาศใช้ 7. กระบวนการที่จะนำไปปฏิบัติให้เกิดผล
45
ข้อเสนอนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี
(1) ด้านรัฐ/สังคม/สิ่งแวดล้อม - การประหยัดพลังงาน (2) ด้านผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - การสร้างระบบรับฟังความคิดเห็นและเรียนรู้ความต้องการของ C/SH. (3) ด้านองค์การ - สร้างมาตรการป้องกันและปราบการทุจริต - ระบบควบคุมภายใน (4) ด้านผู้ปฏิบัติงาน - สร้างและส่งเสริมการรักษาจรรยาข้าราชการกรมอนามัย
46
สวัสดี กพร. กรมอนามัย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.