ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChuia Chaiyawan ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
FC 001 หลักการพัฒนาชุมชน (Principle of Community Development) ระดับ 1
2
ความหมายของการพัฒนา ชุมชน องค์การสหประชาชาติ ได้นิยาม ดังนี้ การ พัฒนาชุมชนเป็นกระบวนการซึ่งประชาชน ทั้งหลายได้พยายามรวบรวมกันทำเองและมา ร่วมกับเจ้าหน้าที่ของรัฐบาลเพื่อทำให้สภาพ ของเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของชุมชน นั้นเจริญดีขึ้น และผสมผสานชุมชนเหล่านั้นเข้า เป็นชีวิตของชาติและเพื่อทำให้ประชาชน สามารถอุทิศตนเพื่อความเจริญของชาติอย่าง เต็มที่
3
ปรัชญางานพัฒนาชุมชน 1. มนุษยทุกคนมี เกียรติและศักดิ์ศรี ในความเปนคน 2. มนุษยทุกคนมี ความสามารถ หรือ มีศักยภาพ 3. ความสามารถของ มนุษยสามารถ พัฒนาไดถามี โอกาส
4
แนวคิดพื้นฐานในการพัฒนา ชุมชน แนวคิดพื้นฐานในการพัฒนา ชุมชน 1. การมีสวนรวมของประชาชน (People Participation) 2. การชวยเหลือตนเอง (Aided Self – Help) 3. ความคิดริเริ่มของประชาชน (Initiative) 4. ความตองการของชุมชน (Felt – Needs) 5. การศึกษาภาคชีวิต (Life – Long Education)
5
หลักการดำเนินงานพัฒนา ชุมชน 1. ยึดหลักความมีศักดิ์ศรี และศักยภาพของ ประชาชน และเปดโอ กาสให้ประชาชนใช ศักยภาพที่มีอยูให มากที่สุด 2. ยึดหลักการพึ่งตนเอง ของประชาชน 3. ยึดหลักการมีสวนร วมของประชาชน 4. ยึดหลักประชาธิปไตย
6
กระบวนการทำงานพัฒนา ชุมชน 1. การศึกษาชุมชน 2. การให้การศึกษาแก่ชุมชน 3. การวางแผน / โครงการ เปนขั้นตอนให ประชาชนรวมตัดสินใจ และกําหนด โครงการ เปนการนําเอาปญหาที่ ประชาชนตระหนัก 4. การดําเนินงานตามแผนและโครงการ 5. การติดตามประเมินผล
7
ยุทธศาสตร์ และทิศทางการ ทำงาน ของกรมฯ เกี่ยวกับงานพัฒนาชุมชน
8
บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ พัฒนาชุมชน เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง เป็นนักรวมกลุ่ม เป็นผู้ให้การศึกษา เป็นผู้กระตุ้นเตือนยั่วยุ เป็นผู้ประสานงาน เป็นตัวเชื่อม เป็นผู้สื่อความคิดติดต่อ
9
เครื่องมือการพัฒนาชุมชน กระบวนการพัฒนาชุมชน การจัดการประชุมแบบมีส่วนร่วม เทคนิคส่งเสริมการมีส่วนร่วม วิทยากรกระบวนการ
10
บทบาทวิทยากรกระบวนการ 1. บทบาทดานการเตรียมการ คือ การเตรียมตนเอง แหลงขอมูล กิจกรรมการเรียนรู สื่ออุปกรณ การเตรียมการวัด และประเมินผล เปนตน 2. บทบาทดานการดําเนินการ ประกอบดวย การเป นผูนําเสนอ ผูชวยการสื่อสารชวยเหลือให คําแนะนํา ปรึกษา การเปนผูกระตุนจูงใจ การเป นผูสังเกต เปนผูรวมกิจกรรม การเปนผู ประสานงาน เสริมบรรยากาศอบอุนเปนมิตร การเป นผูวิเคราะห สรุปประเด็น สังเคราะห เชื่อมโยง ประเด็นใหเปนไปตาม.. มติกลุม 3. บทบาทดานการประเมินผล เพื่อตรวจสอบวา สามารถจัดกิจกรรมบรรลุตามวัตถุประสงคการเรียนรู หรือไม และตองใหกลุมและสมาชิกมีบทบาท ในการวัดและประเมินผลวิทยากรกระบวนการ และกลุ มดวย
11
คุณสมบัติของวิทยากร กระบวนการที่ดี มีทักษะการสื่อสารที่ดี มีทักษะการฟง มีความสามารถในการตั้งคําถามเชิงสรางสรรค มีความยืดหยุน มีความปรารถนาอยางแรงกลาที่จะทําใหเกิด การเรียนรู มีความสามารถในการใชกิจกรรมสอดแทรกใน จังหวะเวลาที่เหมาะสม มีความสามารถในการสรางบรรยากาศสนับสนุน ซึ่งกันและกัน มีความสามารถในการสรุป และเชื่อมโยงใหเห็น ภาพรวม เชื่อในศักยภาพของผูดอยโอกาส เคารพใน ศักดิ์ศรี ความเปนมนุษยของทุกคน ตองการ เห็นผูอื่นมีความสามารถในการเรียนรู้
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.