งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Learning Organization & Knowledge Management

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Learning Organization & Knowledge Management"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Learning Organization & Knowledge Management
แผนการพัฒนาการจัดการความรู้ มทส. 4 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ ) E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

2 หลักการและเหตุผล E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

3 พระราชกฤษฎีกาว่าด้านหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ
พระราชกฤษฎีกาว่าด้านหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ มาตราที่ 11 กำหนดไว้ว่า “หน่วยงานของรัฐมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในหน่วยงาน เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ” ตัวบ่งชี้เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาที่ 7.3 “มีการพัฒนามหาวิทยาลัยสู่องค์การเรียนรู้” E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

4 แนวทางปฏิบัติที่ดี (ในตัวบ่งชี้ที่ 7.3) ...
มีการจัดทำแผนและกำหนดตัวบ่งชี้และเป้าหมายที่ชัดเจนในการจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ มีการดำเนินงานดำเนินงานตามแผน ประเมินแผน และปรับประแผนการจัดการความรู้ตามระบบ PDCA อย่างต่อเนื่อง มีระบบกลไกในการนำเอาผลการประเมินคุณภาพภายในและภายนอกด้านการจัดการความรู้มาปรับปรุงพัฒนาการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัย มีการนำเอาองค์ความรู้และนวัตกรรมที่ได้จากการจัดการความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัยและสังคม E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

5 วัตถุประสงค์ และเป้าหมาย การพัฒนาการจัดการความรู้
E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

6 วัตถุประสงค์ของแผน เพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ตามวิสัยทัศน์ที่ได้กำหนดไว้ เพื่อพัฒนาให้กระบวนการจัดการความรู้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทำงานปกติของหน่วยงานต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย เพื่อพัฒนาขีดความสามารถและทักษะของบุคลากรของมหาวิทยาลัย ในการแสวงหาความรู้ การจัดการความรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

7 เป้าประสงค์ของแผน มีแผนจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัย
หน่วยงานของมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ได้ร่วมในการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัย หน่วยงานที่เข้าร่วม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ได้พัฒนากระบวนการจัดการความรู้ไปเป็นส่วนหนึ่งของการทำงานปกติของหน่วยงาน มีเครือข่ายการจัดการความรู้ ระหว่างมหาวิทยาลัยกับหน่วยงานภายนอกต่าง ๆ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

8 เป้าหมายระยะเวลาการพัฒนา
4 ปี (ปี งปม ) E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

9 การขยายการจัดการความรู้สู่หน่วยงานสนับสนุนทั้งหมดของมหาวิทยาลัย
กิจกรรม ปี 51 ปี 52 ปี 53 ปี 54 ระยะที่ 1 : การเริ่มต้นของการเผยแพร่เกี่ยวกับเรื่องการจัดการความรู้ และการสร้างกรณีตัวอย่างของมหาวิทยาลัย (เริ่ม ก.ค. 51) ระยะที่ 2 : การขยายการจัดการความรู้สู่หน่วยงานสนับสนุนทั้งหมดของมหาวิทยาลัย ระยะที่ 3 : การขยายการจัดการความรู้ไปสู่หน่วยงานด้านวิชาการ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

10 หลักการและทฤษฎีที่ได้สำหรับกำหนดแนวทางการพัฒนาและการจัดทำแผนปฏิบัติการฯ
E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

11 Organization Development Organization Behavior
CORE VALUES PERSONAL MASTERY MENTAL MODELS SHARED VISION LEARNING TEAM THINKING SYSTEMS CORPORATE CULTURE Organization Development Organization Behavior

12 Explicit Knowledge Human Capital Information Capital
Organization Capital Culture Leadership Alignment Teamwork Long-Term Shareholder Value Improve Cost Structure Improve Asset Utilization New Revenue Sources Increase Customer Value Price Quality Availability Selection Functionality Service Partner Brand Customer Value Proposition Product / Service Attributes Relationship Image Operation Management Processes Customer Management Innovation Regulatory & Social Supply Production Distribution Risk Management Acquisition Retention Growth Opportunity ID R&D Portfolio Design / Develop Launch Environment Safety & Health Employment Community Productivity Strategy Growth Strategy Financial Perspective Customer Internal Learning &

13 และศักยภาพที่ซ่อนเร้น
การเรียนรู้ Tacit Knowledge การรับรู้ ประสบการณ์ การกระทำ ลักษณะนิสัย และศักยภาพที่ซ่อนเร้น อารมณ์ ความรู้สึก ความเชื่อ ความศรัทธา ถ้าท่านมีความเชื่อว่าคนเราจะมีฐานะร่ำรวยขึ้นมาได้นั้น จะต้องเล่นหวยไม่ว่าจะเป็นหวยบนดินหรือใต้ดิน ชีวิตของท่านทุกวันก็จะมีความผูกพันอยู่กับตัวเลข พยายามมองหาว่ามีต้นไม้แปลก, สัตว์แปลก ๆ หรือมีบ้านผีสิงอยู่ที่ใดบ้าง หรือแม้กระทั่งวัดที่มีพระที่ให้หวยแม่น ๆ ท่านจะพยายามมองหาสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้เพื่อให้ได้ตัวเลขเด็ดมา ถ้าท่านได้ตัวเลขเด็ดมาแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวันที่ใกล้วันหวยออกด้วยแล้วท่านก็จะรู้สึกใจชื้นขึ้นมาทันที แต่ถ้าท่านยังหาตัวเลขไม่ได้ ก็จะรู้สึกกระวนกระวายใจ, ร้อนรน, หมกมุ่นอยู่กับการหาสถานที่ที่คาดว่าจะมีเลขให้ไปเล่นหวย และเมื่อท่านได้ทราบแล้วว่าที่ใดมีเลขเด็ดท่านก็จะไปขูดต้นไม้, ไปกราบหลวงพ่อ, เพ่งหยดเทียนในขันน้ำ เป็นต้น และถ้าท่านถูกหวยในงวดนั้น ก็จะยิ่งเพิ่มความเชื่อมั่นเข้าไปอีกว่าความร่ำรวยจะมาจากการเล่นหวยเท่านั้น เมื่อมีความเชื่อมากขึ้น กระทำเช่นนี้บ่อยครั้งเข้าก็จะติดเป็นนิสัยและจะกลายเป็นสันดานไปในที่สุด ดังนั้น จะเห็นได้ว่าต้นน้ำที่เป็นปัจจัยของความสำเร็จทั้งปวงก็คือความเชื่อที่อยู่ในตัวของเรานั่นเอง ถ้าเราเชื่อว่าเราสามารถทำได้ เราก็จะมุ่งมั่นทำ แต่ถ้าเราเชื่อว่างานนี้ทำไม่ได้แล้วฉันใด เราก็จะไม่ลงมือทำถึงแม้ว่างานนั้นจะง่ายก็ตามที วัฒนธรรม องค์กร ทัศนคติ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

14 กระบวนการสร้างความรู้ : แนวคิด Nonaka and Takeuchi
to Tacit Knowledge Explicit Knowledge Socialization Dialogue Externalization Memo, Note, Record Tacit Knowledge Internalization Publication, Presentation Combination Relation, Cause-effect Explicit Knowledge Knowledge Spiral

15 E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

16 มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร”
ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Vision (KV) Sharing (KS) ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) Assets (KA) ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs

17 แนวทางการพัฒนา E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

18 2 การขยายการจัดการความรู้สู่หน่วยงานสนับสนุนทั้งหมดของ มหาวิทยาลัย
ระยะที่ จำนวนแนวทาง 1. การเริ่มต้นของการเผยแพร่เกี่ยวกับเรื่องการจัดการความรู้ และการสร้างกรณีตัวอย่างของมหาวิทยาลัย 12 2 การขยายการจัดการความรู้สู่หน่วยงานสนับสนุนทั้งหมดของ มหาวิทยาลัย 6 3. การขยายการจัดการความรู้ไปสู่หน่วยงานด้านวิชาการ 4 E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

19 แนวทางการพัฒนา… (ที่ได้ดำเนินการไปแล้ว)
จัดให้มีคณะทำงานจัดการความรู้ในระดับมหาวิทยาลัย สนับสนุนให้มีหน่วยงานเริ่มต้นในการจัดการความรู้ เพื่อให้มีผลงานเป็นตัวอย่าง ประชาสัมพันธ์ไปยังหน่วยงานต่าง ๆ เชิญชวนเข้าร่วมในการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัย จัดทำแผนพัฒนาการจัดการความรู้ฯ ปีงบประมาณ และแผนปฏิบัติการจัดการความรู้รายปี สร้างเครือข่ายการจัดการความรู้กับหน่วยงานภายนอกต่าง ๆ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

20 แนวทางการพัฒนา… (ที่อยู่ระหว่างการดำเนินการ)
ประเมินผลการดำเนินการตามแผนจัดการความรู้ และนำไปพัฒนาปรับปรุง โดยมีการติดตามผลความคืบหน้าเป็นประจำทุกเดือน เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์แผนการจัดการความรู้ และผลการดำเนินการจัดการความรู้ให้แก่ประชาคมของมหาวิทยาลัยได้ทราบ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

21 แนวทางการพัฒนา… (ที่จะเร่งรัดดำเนินการต่อไป)
จัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมให้ความรู้แก่บุคลากรของมหาวิทยาลัยในเรื่องการจัดการความรู้ และนำไปวางระบบการจัดการความรู้ของหน่วยงาน กำหนดโครงสร้างของทีมจัดการความรู้ และบทบาทภายในทีมอย่างชัดเจน เร่งรัดการดำเนินการให้เป็นไปตามแผนจัดการความรู้ที่ได้กำหนดไว้ สร้างและพัฒนาทีมงานหลักที่จะทำหน้าที่เป็นผู้ให้ความรู้ ข้อแนะนำและอบรมให้ความรู้แก่ทีมการจัดการความรู้ ส่งเสริมให้เกิดชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice : CoP) E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

22 แนวทางการพัฒนา… (ระยะ 2, 3)
พัฒนาระบบการจัดเก็บความรู้ของหน่วยงานและของมหาวิทยาลัย ส่งเสริมให้กระบวนการจัดการความรู้ ให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทำงานปกติของหน่วยงาน สนับสนุนให้มีการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทั้งภายในและนอกมหาวิทยาลัย E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

23 ผลการดำเนินการตามแผน
(ก.ค.51-ต.ค.51) E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

24 มีแผนจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัย...
แผนปฏิบัติการฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แผนการพัฒนาการจัดการความรู้ฯ ระยะ 4 ปี (พ.ศ ) E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

25 (จากหน่วยงานทั้งหมดของ มทส.)
หน่วยงานของมหาวิทยาลัย เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 รวม 28 หน่วยงาน คิดเป็นร้อยละ 93.33 (จากหน่วยงานทั้งหมดของ มทส.) E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

26 มีเครือข่ายการจัดการความรู้ ระหว่างมหาวิทยาลัยกับหน่วยงานภายนอกต่าง ๆ
E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

27 ข้อเสนอ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

28 การจัดทำแผนปฏิบัติการ KM ร่วมกัน (แบบมีพี่เลี้ยง)
Workshop การจัดทำแผนปฏิบัติการ KM ร่วมกัน (แบบมีพี่เลี้ยง) กระบวนการ_____________________________________________________ เรื่องเล่า : E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

29 การมีเวทีร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
Workshop การมีเวทีร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กระบวนการ_____________________________________________________ เรื่องเล่า : เช่น การประกันคุณภาพภายใน, การจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปีของหน่วยงาน, การบริหารความเสี่ยงของ หน่วยงาน เป็นต้น E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt


ดาวน์โหลด ppt Learning Organization & Knowledge Management

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google