ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
แผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ
การจัดทำ แผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ
2
ประเด็นนำเสนอ 1. วัตถุประสงค์การนำเสนอคณะกรรมการลุ่มน้ำ
2. คำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ 3. ปฏิทินการดำเนินงานของคณะอนุกรรมการฯ กลุ่ม 2 4. กรอบแนวคิดกระบวนการจัดทำแผนฯ 5 ขั้นตอน 5. กำหนดการรับฟัง (ความคิดเห็น) สภาพปัญหา ในพื้นที่ทั้งกลุ่ม 1 และกลุ่ม 2 (โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ) 6. รายละเอียดโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
3
1.วัตถุประสงค์ในการนำเสนอคณะกรรมการลุ่มน้ำ
1.1 เพื่อให้คณะกรรมการลุ่มน้ำ รับทราบ ความเป็นมา กรอบแนวคิดในการ จัดทำแผนฯ ก่อนที่คณะอนุฯ กลุ่ม 1 และ 2 มารับฟังความคิดเห็นในพื้นที่ 1.2 เตรียมสภาพปัญหาในพื้นที่ / แผนการแก้ไขปัญหา เพื่อเสนอหาก การจัดทำแผนฯ ที่นำมารับฟัง ความคิดเห็นไม่ตรงกับพื้นที่
4
2. คำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 85/2557
2. คำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 85/2557 ลงวันที่ 3 กรกฎาคม 2557 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดนโยบาย และการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ จัดทำนโยบายและการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของประเทศ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการฯ 5 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่ม 1 คณะอนุกรรมการพัฒนาและบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก (ชป.) กลุ่ม 2 คณะอนุกรรมการพัฒนาและบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ (ทน.) กลุ่ม 3 คณะอนุกรรมการจัดการระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ กลุ่ม 4 คณะอนุกรรมการพัฒนาและบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ เกี่ยวกับการจัดองค์กร และการออกกฎ กลุ่ม 5 คณะอนุกรรมการด้านการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วม
5
คณะอนุกรรมการฯ กลุ่ม 1 และกลุ่ม 2 มีอำนาจหน้าที่ที่สำคัญดังนี้
จัดทำแผนงานและโครงการในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในพื้นที่ (กลุ่ม 1 พื้นที่ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก และกลุ่ม 2 พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้) เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการกำหนดนโยบายและการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ เสนอแนะแนวทางการดำเนินการ เพื่อแก้ไขปัญหา และวิธีการดำเนินการ พร้อมทั้งผลกระทบที่จะได้รับจากการดำเนินการ รวมทั้งให้จัดลำดับความเร่งด่วนในการแก้ไขปัญหา เสนอแนะโครงการที่จะดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา พร้อมทั้งจัดลำดับความเร่งด่วน และผลกระทบที่จะได้รับการโครงการ เสนองบประมาณโดยสังเขป ตามความเร่งด่วน พร้อมส่วนราชการที่รับผิดชอบ
6
3. ปฏิทินการดำเนินงานของคณะอนุกรรมการฯ กลุ่ม 2
ปฏิทิน/ขั้นตอนการดำเนินงาน 30 ก.ค. 57 ส.ค ก.ย. ต.ค. week 1 (1-7) week 2 (8-14) week 3 (15-21) week 4 (22-29) week 1 (30-5) week 2 (6-13) week 3 (14-20) week 4 (21-27) week 1 (28-4) week 2 (5-11) week 3 (12-15) 1. คณะอนุกรรมการฯ เสนอความเห็นให้คณะกรรมการฯและที่ปรึกษาพิจารณา 2. ประชุมอนุฯ ร่วม 1-2 พิจารณาชี้ประเด็นปัญหากรอบแนวทางการดำเนินงาน 5 ส.ค.57 3. ประชุมคณะทำงานกลุ่มย่อยเพื่อปรับปรุงข้อมูล 13-15 ส.ค. 57 4. สังเคราะห์ข้อมูล/ปรับกลยุทธ์มาตรการ/จัดลำดับยุทธศาสตร์/เสนอร่างแผนงาน/โครงการ 18-31 ส.ค. 57 5. ประชุมอนุฯ ร่วม 1-2 พิจารณาร่างแผนฯ 5 ก.ย. 57 6. ลงพื้นที่รับฟังความคิดเห็นของประชาชน 8-15 ก.ย. 57 7. ประชุมอนุฯ ร่วม 1-2 พิจารณาแผนฯ ฉบับสมบูรณ์ 18 ก.ย. 57 8. เสนอแผนให้คณะกรรมการฯและที่ปรึกษาพิจารณา 25 ก.ย. 57 9. ปรับปรุงแผนตามความเห็นของคณะกรรมการฯและที่ปรึกษา 5 ต.ค. 57 10. คณะกรรมการฯ แถลงแผนการบริหารจัดการน้ำ 15 ต.ค. 57
7
4. กรอบแนวคิด กระบวนการจัดทำแผน 5 ขั้นตอน ระบบลุ่มน้ำ/การมีส่วนร่วม
1.ชี้ปัญหา 2.วิเคราะห์สาเหตุ 3.กำหนดยุทธศาสตร์และมาตรการแก้ไขปัญหา 4.การจัดกลุ่มโครงการ 5.แผนบริหารจัดการน้ำ 1. ระยะเร่งด่วน 2. ระยะสั้น 3. ระยะกลาง 4. ระยะยาว ระบบลุ่มน้ำ/การมีส่วนร่วม เชิงรุก เชิงรับ 1. กลุ่มแก้ปัญหาภัยแล้ง 2. กลุ่มบรรเทาน้ำท่วม 3. กลุ่มจัดการคุณภาพน้ำ (ขนาดเล็ก กลาง ใหญ่) 1. ใช้สิ่งก่อสร้าง 2. ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง 1. ภาพรวมทั้งลุ่มน้ำ (ตอนบน ตอนกลาง และตอนล่าง) 2. จากธรรมชาติ/มนุษย์ 3.ปัจจัยภายนอก ภายใน (SWOT) 1. ปัญหาอะไร (เหมาะสมตามกาลสมัย) 2. ความชัดเจน (สถานที่ ขนาด เวลา ความถี่ และผลกระทบ) 3. จะแก้หรือไม่ (ภูมิกายภาพ สังคม)
8
การมีส่วนร่วม กระบวนการจัดทำแผนบริหารจัดการน้ำ ภัยแล้ง น้ำท่วม
หลักเกณฑ์ ตำแหน่ง/ช่วงเวลา/ความถี่ ผลกระทบ (มูลค่า-ความเสียหาย) ภัยแล้ง น้ำท่วม คุณภาพน้ำ 1.ชี้ปัญหา การมีส่วนร่วม 1.อุปโภคบริโภค 2.รักษานิเวศ 3.เกษตร 4.อุตสาหกรรม 1.พื้นที่เศรษฐกิจ 2.ชุมชนเมือง 3.พื้นที่เกษตร 1. น้ำเสีย 2.น้ำเค็ม วิธีวิเคราะห์ สถิติ-แนวโน้ม SWOT ธรรมชาติ มนุษย์ 2.วิเคราะห์สาเหตุ ภูมิกายภาพลุ่มน้ำ อุตุ อุทก - น้ำบาดาล การใช้ที่ดิน(เกษตร-ป่าไม้)ประชากร/เศรษฐกิจสังคม 3.ยุทธศาสตร์ ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง : 1.ประสิทธิภาพการใช้น้ำต้นทุน 2.ระบบฐานข้อมูล 3.บริหารจัดการแหล่งเก็บกักน้ำ 4.บริหารจัดการอุทกภัย 5.กำหนดZoning (ภาคเกษตร/อุตสาหกรรม/ชุมชน) 6.การจัดการพืชคลุมดิน 7.ฟื้นฟูต้นน้ำ 8.ติดตามคุณภาพน้ำ 9.ติดตามประเมินผลการบริหารจัดการน้ำ 10.การบริหารจัดการเชิงนโยบาย/กฎหมาย 11.การจัดการองค์กรและการมีส่วนร่วม ภัยแล้ง / น้ำท่วม/คุณภาพน้ำ กลยุทธ ใช้สิ่งก่อสร้าง : 1.จัดหาแหล่งกักเก็บน้ำ 2.จัดหาน้ำ 3.เพิ่มเสถียรภาพน้ำต้นทุน 4.นำน้ำมาใช้ประโยชน์ 5.ระบบกระจายน้ำ 6.เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ 7.ระบบป้องกันน้ำท่วม 8.ปรับปรุงประสิทธิภาพโครงการ 9.แผนบริหารจัดการน้ำอุปโภค-บริโภค มาตรการ เชิงรุก กลุ่มแก้ปัญหาภัยแล้ง กลุ่มบรรเทาน้ำ ท่วม กลุ่มจัดการ คุณภาพน้ำ 4.จัดกลุ่มโครงการ เชิงรับ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ 5.แผนบริหารจัดการน้ำ แผนงาน ดำเนินการ ศึกษา สวล. ออกแบบ ก่อสร้าง ที่ตั้ง/พท.รับประโยชน์/ ผลกระทบ/ผลสัมฤทธิ์/ระยะเวลา ตัวชี้วัด เป้าหมาย เร่งด่วน (58) สั้น (59) กลาง (60-64) ยาว (65ขึ้น)
9
พื้นที่ภัยแล้งด้านเกษตร พื้นที่ภัยแล้งอุปโภคบริโภค
1.1 ชี้ปัญหาภัยแล้ง การวิเคราะห์ปัญหาภัยแล้ง ตำแหน่ง ช่วงเวลา ความถี่ ผลกระทบ พด./ สสนก. พด. ปภ./ชป. สสนก./ปภ. พื้นที่ภัยแล้งด้านเกษตร ทน./สสนก. ปภ./ทน. พด./ทน. พื้นที่ภัยแล้งอุปโภคบริโภค ล้านไร่ 915 ตำบล 915 ตำบล 4,619 ล้าน ลบ.ม./ปี พื้นที่ภัยแล้ง ด้านอุตสาหกรรม ตำแหน่ง ช่วงเวลา ความถี่ ผลกระทบ สสนก./กรอ. สสนก./ปภ. กรอ. กรอ./ปภ. ทน./ชป. ชป. รักษาระบบนิเวศ ปริมาณน้ำ 28,533 ล้าน ลบ.ม./ปี
10
พื้นที่เศรษฐกิจและชุมชน 0.171 ล้านไร่
1.2 ชี้ปัญหาน้ำท่วม ปริมาณความเสียหาย พื้นที่เศรษฐกิจและชุมชน ล้านไร่ พื้นที่เกษตร 4.99 ล้านไร่ การวิเคราะห์ปัญหาอุทกภัย ตำแหน่ง ช่วงเวลา ความถี่ ผลกระทบ กทม./สสนก. กทม./พด. พด./สสนก. ปภ. สสนก./ปภ. พด. กทม./ปภ. พื้นที่อุทกภัยเขตเศรษฐกิจ พื้นที่อุทกภัยเทศบาลนคร พด./สสนก. ปภ./ชป. สสนก./ปภ. พด. พื้นที่อุทกภัยด้านเกษตร ตำแหน่ง ช่วงเวลา ความถี่ ผลกระทบ พด./สสนก. พด. ปภ./ชป. สสนก./ปภ. พื้นที่อุทกภัยเทศบาลตำบล/เมือง
11
ชี้ปัญหาคุณภาพน้ำและระดับความรุนแรง
1.3 ชี้ปัญหาคุณภาพน้ำและระดับความรุนแรง คุณภาพน้ำ แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ น้ำเสียและน้ำเค็ม ดัชนีคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดิน (Water Quality Index: WQI) พิจารณาจาก ค่าคุณภาพน้ำ 5 พารามิเตอร์ ได้แก่ ออกซิเจนละลาย ความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ แบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด แบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์ม และแอมโมเนีย – ไนโตรเจน เกณฑ์ คุณภาพน้ำ แหล่งน้ำผิวดินในภาคต่างๆ ของประเทศ ร้อยละของแหล่งน้ำ เหนือ กลาง ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต้ ดี วัง อิง กก(+) ลี้(+) แม่จาง แควใหญ่ แควน้อย อูน สงคราม หนองหาร ลำชี เวฬุ ประแสร์(+) ตาปีตอนบน ตรัง ปัตตานีตอนบน พุมดวง(+) 26 พอใช้ ปิง ยม น่าน กวง(+) กว๊านพะเยา เจ้าพระยาตอนบน เพชรบุรีตอนบน(-) น้อย แม่กลอง ปราณบุรี กุยบุรี พอง ชี มูล(-) เสียว ลำปาว เลย(-) ลำตะคองตอนบน(-) พังราดตอนล่าง จันทบุรี(-) ตราด(-) บางปะกง นครนายก ปราจีนบุรี ตาปีตอนล่าง ทะเลน้อย ทะเลหลวง(-) สายบุรี(-) ปากพนัง ปัตตานีตอนล่าง หลังสวนตอนบน(-) หลังสวนตอนล่าง ทะเลสาบสงขลา 51 เสื่อมโทรม บึงบอระเพ็ด เจ้าพระยาตอนล่าง เจ้าพระยาตอนกลาง(-) ท่าจีนตอนบน(-) ท่าจีนตอนกลาง,ตอนล่าง ป่าสัก ลพบุรี สะแกกรัง(-) เพชรบุรีตอนล่าง ลำตะคองตอน ล่าง ระยองตอนบน ระยองตอนล่าง พังราดตอนบน ชุมพร(-) 23
12
ชี้ปัญหาคุณภาพน้ำ (น้ำเค็ม)
การเฝ้าระวัง ติดตาม และตรวจสอบคุณภาพน้ำด้านความเค็ม ในช่วงฤดูแล้ง ระหว่างเดือนมกราคม ถึงเดือนมิถุนายนของทุกปี ไม่ให้น้ำทะเลรุกล้ำเข้ามาทำอันตรายหรือทำให้เกิดผลกระทบต่อการเกษตร การประปา 1.3 เกณฑ์ค่าความเค็ม แม่น้ำเจ้าพระยา ลุ่มน้ำที่ต้องเฝ้าระวัง 1. การเกษตรมีค่าความเค็มไม่เกิน 2.0 กรัม/ลิตร 2. การผลิตประปามีค่าความเค็มไม่เกิน 0.25 กรัม/ลิตร
13
วิเคราะห์ข้อมูลร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ยุทธศาสตร์และมาตรการแก้ไขปัญหา
(2) การวิเคราะห์สาเหตุ ข้อมูลเชิงสถิติ วิเคราะห์ข้อมูลร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ข้อมูลเชิงแผนที่ 1.กายภาพลุ่มน้ำ 2.อุตุ-อุทกวิทยา 3.ดินและการใช้ประโยชน์ที่ดิน 4.ป่าไม้และชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 5.ประชากร เศรษฐกิจ สังคม 6.โครงการพัฒนาแหล่งน้ำในปัจจุบัน 7.ความต้องการใช้น้ำ 8.สถานการณ์ภัยแล้ง 9.สถานการณ์น้ำท่วม 10.คุณภาพน้ำ ยุทธศาสตร์และมาตรการแก้ไขปัญหา
15
ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูลน้ำท่วม พื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมเป้าหมาย
พื้นที่และระดับความรุนแรง จาก พด. พื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมเป้าหมาย ผลกระทบ/ความเสียหายจาก ปภ. พื้นที่และปริมาณน้ำท่วม ของ GISTDA
16
ตัวอย่างการวิเคราะห์ปัญหาน้ำเสีย ตัวอย่างการวิเคราะห์ปัญหาน้ำเค็ม
ท่าน้ำนนท์ จังหวัดนนทบุรี เกณฑ์เพื่อการเกษตร 2 กรัม/ลิตร ปากคลองสำแล จังหวัดปทุมธานี เกณฑ์เพื่อผลิตประปา 0.25 กรัม/ลิตร ข้อมูลเพิ่มเติม 1. ข้อมูลจุดที่เกิดปัญหา/ความถี่ จาก คพ. 2. ข้อมูลพารามิเตอร์ จุดที่เกิด ปัญหา/ความถี่ จาก คพ.
17
(3) ยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหา
บรรเทา ปัญหาน้ำท่วม แก้ปัญหาภัยแล้ง แก้ปัญหาคุณภาพน้ำ ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง : 1.บริหารจัดการน้ำแล้ง-น้ำหลาก-คุณภาพน้ำ 2.ฟื้นฟูป่าต้นน้ำ 3.พืชคลุมดิน 4.zoning (เกษตร-อุตสาหกรรม) 5.ปรับระบบปลูกพืช 5.3R 6.ระบบเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ 7.พยากรณ์/เตือนภัย 8.ระบบฐานข้อมูลบริหารจัดการน้ำ 9.ระบบติดตามประเมินผล 10.หน่วยงาน/องค์กรบริหารจัดการน้ำในทุกระดับ 11.นโยบาย/กฎหมาย 12.ประชาสัมพันธ์ 13.ตั้งหน่วยงานบริหารจัดการอุทกภัย ใช้สิ่งก่อสร้าง : 1.จัดหาแหล่งเก็บกักน้ำ 2.โครงข่ายน้ำ 3.ระบบส่งน้ำ 4.ปรับปรุงประสิทธิภาพโครงการ 5.เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ 6.แก้มลิง 7.เติมน้ำลงใต้ดิน 8.ผันน้ำ/ช่องลัด 9.แผนบริหารจัดการน้ำอุปโภค-บริโภค 10.ระบบป้องกันน้ำท่วม 11.ระบบบำบัดน้ำเสีย 12.ระบบป้องกันน้ำเค็ม 13.ย้าย/พัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจใหม่
18
การรับฟังความคิดเห็น กลุ่มแก้ปัญหาภัยแล้ง กลุ่มจัดการ คุณภาพน้ำ
(4) จัดกลุ่มโครงการ การรับฟังความคิดเห็น ขนาดเล็ก กลุ่มแก้ปัญหาภัยแล้ง กลุ่มบรรเทา น้ำท่วม ขนาดกลาง เชิงรุก เชิงรับ ขนาดใหญ่ กลุ่มจัดการ คุณภาพน้ำ
19
(5) แผนบริหารจัดการน้ำ
5. แผนบริหารจัดการน้ำ เป้าหมาย แผนงาน ระยะแผน +เร่งด่วน +สั้น +กลาง +ยาว ดำเนินก าร ศึกษา สวล. ออกแบ บ ก่อสร้าง 58 59 65 ขึ้นไป ตัวชี้วัด 1. แก้ปัญหาตรงจุด 2. แก้ปัญหาอย่างยั่งยืน 3. เหมาะสม (ผลประโยชน์-ผลกระทบ-ประหยัด) 4. ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ (output / outcome)
20
5. กำหนดการรับฟังความคิดเห็นในพื้นที่
ลำดับ พื้นที่ภาค จังหวัด วันที่ หมายเหตุ 1. 2. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นครราชสีมา (รร.สีมาธานี) อุดรธานี (ร.ร.นภาลัย) 8 กันยายน 2557 9 กันยายน 2557 คณะอนุกรรมการฯ กลุ่ม 2 ทน. ” 3. 4. ภาคใต้ สุราษฏร์ธานี (ร.ร.ไดมอนด์พลาซ่า) สงขลา (ร.ร.หรรษาเจบี) 11 กันยายน 2557 12 กันยายน 2557 5. 6. ภาคเหนือ เชียงใหม่ พิษณุโลก คณะอนุกรรมการฯ กลุ่ม 1 ชป. 7. ภาคกลาง อยุธยา 10 กันยายน 2557 8. ภาคตะวันตก เพชรบุรี 9. ภาคตะวันออก ระยอง
21
6. รายละเอียดโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
เรื่อง “การรับฟังสภาพปัญหาของลุ่มน้ำ เพื่อยกร่างแผนการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำ” พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก วัตถุประสงค์ 1. เพื่อรับฟังสภาพปัญหาของลุ่มน้ำ สาเหตุและแนวทางแก้ไขปัญหา ในแต่ละลุ่มน้ำ เพื่อนำมาประกอบการยกร่างแผนฯ 2. เพื่อยกร่างแผนการบริหารจัดการน้ำพื้นที่ภาตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ ภาคเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันออก กลุ่มเป้าหมาย ตัวแทนคณะกรรมการลุ่มน้ำ ทั้ง 25 ลุ่มน้ำ/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง วิธีการ 1. นำเสนอกรอบแนวคิดการจัดทำแผนฯ 2. แบ่งกลุ่มย่อยตามลุ่มน้ำ เพื่อวิเคราะห์ปัญหา 3. ยกร่างยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาตามกลุ่มลุ่มน้ำย่อย 4. สรุปผลภาพรวมในระดับลุ่มน้ำ 5. สรุปผลภาพรวมในระดับภาค
22
จบการนำเสนอ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.