งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
แนวทางการดำเนินโครงการป้องกันเฝ้าระวัง และช่วยเหลือผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์

2 สถานการณ์ปัญหาการฆ่าตัวตาย ปี 2541-2553
ที่มา : สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข

3 อัตราการทำร้ายตนเองปี 2545-2552
ที่มา: สนย. กระทรวงสาธารณสุข, และจาก รง 2 มบ

4 แหล่งข้อมูล: รง.506.DS, มบ.1

5 แหล่งข้อมูล: รง.506.DS, มบ.1

6 แหล่งข้อมูล: รง.506.DS, มบ.1

7 วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยบริการสาธารณสุขระดับ รพศ./รพท./รพช และ รพสต. 1. มีการติดตามดูแลผู้พยายามฆ่าตัวตายเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 2. มีระบบการค้นหา คัดกรอง ดูแลและช่วยเหลือผู้ที่เสี่ยงต่อการ ฆ่าตัวตายรวมถึงการส่งต่อผู้ป่วยกลับสู่ชุมชนได้

8 ตัวชี้วัดตามคำรับรองระดับหน่วยงาน
ร้อยละของผู้พยายามฆ่าตัวตายได้รับการดูแลเฝ้าระวังและบำบัดรักษาอย่างต่อเนื่อง

9 คำอธิบาย ผู้พยายามฆ่าตัวตาย หมายถึง ผู้กระทำการปลิดชีวิตตนเอง โดยสมัครใจและเจตนาที่จะตายจริง เพื่อให้หลุดพ้นจากการบีบคันหรือความคับข้องใจที่เกิดขึ้นในชีวิต ซึ่งอาจจะกระทำอย่างตรงไปตรงมา หรือกระทำโดยอ้อม ด้วยวิธีการต่างๆ แต่ไม่เสียชีวิตด้วยเหตุใดก็ตาม

10 คำอธิบาย (ต่อ) 2. การบริการบำบัดรักษา : ผู้พยายามฆ่าตัวตายที่มารับบริการในหน่วยงานสาธารณสุข - ได้รับการคัดกรอง / เฝ้าระวังด้วยเครื่องมือ DS8 - ได้รับบริการทางสังคมจิตใจ / การให้การปรึกษา การบำบัดรักษาด้วยยาตามอาการที่พบ 3. การเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง : มีการติดตามเยี่ยมบ้าน ภายหลังออกจากโรงพยาบาลกลับสู่ชุมชน และ/หรือ Follow up และ Refer รพ.สต ออกติดตาม

11 แนวทางการดำเนินงาน ขั้นที่ 1 รวบรวมข้อมูลผู้ที่ฆ่าตัวตายสำเร็จ ผู้พยายามฆ่าตัวตาย ผู้พยายามฆ่าตัวตายซ้ำ ปัจจัยกระตุ้น / ปัจจัยส่งเสริม การให้บริการบำบัดรักษา การติดตาม นำข้อมูลที่ได้จาก รง. 506 DS ทั้งหมดที่รวบรวมได้มาวิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อดูแนวโน้ม และความไวในการป้องกันภาวะซึมเศร้าและเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ขั้นที่ 2 วางแผนกิจกรรมให้สอดคล้องกับปัญหาที่พบตามบริบทของแต่ละพื้นที่และดำเนินการตามแผนที่วางไว้

12 แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ)
ขั้นที่ 3 จัดทำระบบบริการคัดกรอง ค้นหา เฝ้าระวังประชาชนกลุ่ม เสี่ยง พร้อมทั้งให้บริการบำบัดรักษาด้วยยา สุขภาพจิตสังคม การให้การปรึกษา และ การเยี่ยมบ้าน , Follow Up , Refer ขั้นที่ 4 บันทึกข้อมูลตามแบบ รง. 506 DS ลง เมื่อพบภาวะซึมเศร้าและ / หรือผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย

13 สิ่งที่ต้องดำเนินการ
ติดตามเยี่ยมบ้านผู้พยายามฆ่าตัวตายภายใน 15 วัน อย่างน้อย 1 ครั้งภายหลังจำหน่ายออกจาก โรงพยาบาลและ/หรือนัดมาติดตามผลที่สถานบริการ (Follow Up) หรือ Refer ไปยัง รพ.สต ให้ออกติดตามเยี่ยม

14 สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ต่อ)
2. การเฝ้าระวังผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย - การป้องกันและช่วยเหลือผู้ที่พยายามฆ่าตัวตาย - มีการป้องกันและช่วยเหลือผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย (DS8+ve) - ป้องกัน ช่วยเหลือครอบครัว ชุมชน ภายหลังรับทราบว่ามีผู้ฆ่าตัวตายสำเร็จ ทำร้ายกันถึงแก่ชีวิต 3. เพิ่มการเข้าถึงบริการของผู้ป่วย เทียบกับปีที่ผ่านมา ≥ ร้อยละ 10 ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ โรคซึมเศร้าที่วินิจฉัย ตาม ICD 10 หมวด F32 , F33 , F34.1 , F38 และ F39

15 ผลลัพธ์ที่ต้องการ จำนวนและอัตราการติดตามดูแลผู้พยายามฆ่าตัวตาย ≥ ร้อยละ 60 ผู้พยายามฆ่าตัวตายซ้ำลดลงจากปีที่ผ่านมา อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จต่อประชากรแสนคนลดลงจากปีที่ผ่านมา ผลของการคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและคัดกรองความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย

16 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google