ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
ประกอบด้วย 2 กิจกรรมย่อย 1. การอบรมวิธีการสำรวจตรวจนับศัตรูพืช/ ศัตรูธรรมชาติ 2. แปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
2
กิจกรรมย่อยที่ 1 การอบรม ฯ
วัตถุประสงค์ เพื่อให้เจ้าหน้าที่/อาสาสมัครที่รับผิดชอบโครงการฯมีความรู้ความเข้าใจการสำรวจศัตรูพืช/ศัตรูธรรมชาติ/สภาพอากาศสามารถนำไปถ่ายทอดให้กับผู้ผลิตนำไปประยุกต์ใช้อย่างถูกต้องเหมาะสม
3
เป้าหมาย เจ้าหน้าที่ 5,093 ราย และอาสาสมัคร
เกษตรสำรวจ ฯ 15,279 ราย วิธีการดำเนินงาน นำหลักสูตรเข้าไปจัดร่วมกับการอบรมที่ปรึกษาโครงการ FS เช่น การสำรวจตรวจนับศัตรูพืช / ศัตรูธรรมชาติ / วินิจฉัยศัตรูพืช ระยะเวลาดำเนินการ มีนาคม 2550 งบประมาณ อบรมพร้อมกับการอบรมวิทยากรระดับ จังหวัด
4
กิจกรรมย่อยที่ 2 แปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
วัตถุประสงค์ เพื่อนำข้อมูลมาประกอบการวางแผนเตือนการระบาด /ป้องกันกำจัดศัตรูพืช เกษตรกรผลิตพืชปลอดภัย 881 กลุ่ม ได้เรียนรู้ /เข้าใจระบบนิเวศในแปลงโครงการ เป้าหมายจัดทำแปลงทุกอำเภอ 881 แปลง ครอบคลุม 5 กลุ่มพืช + 9 ศูนย์บริหารศัตรูพืช )
5
หลักการจัดทำแปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
จังหวัดคัดเลือกชนิดพืชที่จะทำแปลงติดตามฯ ตามกลุ่มพืชที่กำหนดไม่น้อยกว่า 1 กลุ่มพืช อำเภอคัดเลือกแปลงติดตาม/แปลงสำรวจอำเภอละ 1 แปลง พร้อมอาสาสมัครสำรวจแปลง ดำเนินการติดตามสถานการ์ทุกสัปดาห์รายงานผลให้อำเภอ/จังหวัด/ศบพ. แปลงที่มีแนวโน้มการระบาดให้เตือนการระบาดให้เกษตรกรในพื้นที่ทราบ
6
ตัวอย่างตารางคัดเลือกพืชของแต่ละอำเภอ/ จังหวัด
ไม้ดอก ข้าว พืชไร่ ไม้ผล พืชผัก หมายเหตุ รวม 1.อยุธยา 10 2มะม่วง 2 ถั่ว 2 กุหลาบ 16 - 2.สุพรรณบุรี 4 2 อ้อย 2 มะม่วง 2 คะน้า 10 - 3. จังหวัดที่ รวม แปลง เงื่อนไข 1. จังหวัดคัดเลือกกลุ่มพืชเศรษฐกิจที่สำคัญอยู่ในโครงการ FS ไม่น้อยกว่า 1 กลุ่ม 2. ระบุชื่อพืชที่ใช้เป็นแปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช ในแต่ละอำเภอ แจ้งกรมฯ ทาง e –mail : agriqua
7
วิธีดำเนินงานรายหน่วยงาน
ตำบล 1.นวส.(ตำบล)/อาสาสมัครเกษตร (ผ่านระบบ โรงเรียนเกษตรกร) 2. เก็บข้อมูลทุกวันจันทร์บันทึกในแบบฟอร์ม 3. เตือนการระบาดผ่าน-หอกระจายข่าว/วิทยุ 4. รายงานผลให้อำเภอ (ส่งแบบสำรวจ)
8
อำเภอ มอบหมาย นวส.รับผิดชอบงานป้องกันกำจัดศัตรูพืช
รวบรวมข้อมูลจากตำบลต่างๆ/วิเคราะห์/ประมวลผล ถ้ามีแนวโน้มการระบาดให้เตือนการระบาดระดับอำเภอ ผ่านวิทยุ / หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น ถ้าระบาดแนะนำการกำจัดโดยวิธีผสมผสาน รายงานจังหวัดทุกวันพุธส่งแบบสรุปทาง
9
จังหวัด 1. ผู้รับผิดชอบ รวบ รวม ข้อมูลจากอำเภอต่างๆวิเคราะห์/ ประมวลผล
1. ผู้รับผิดชอบ รวบ รวม ข้อมูลจากอำเภอต่างๆวิเคราะห์/ ประมวลผล 2. ถ้ามีแนวโน้มการระบาดเตือนระดับจังหวัด วิทยุ / นสพ.ท้องถิ่น 3. รายงานผลให้ ศบศ. เขต กรมฯ ( ทาง ) ผู้รับผิดชอบ : กลุ่มส่งเสริมการผลิต
10
ศูนย์บริหารศัตรูพืช 1.นวส.รับผิดชอบงานเตือนภัยศัตรูพืชรวบรวมข้อมูลของแต่ละจังหวัดและของศูนย์ วิเคราะห์ / ประมวลผล 2. ถ้าพบมีแนวโน้มระบาดเตือนระดับเขตผ่านทาง จดหมายข่าว /อื่นๆ 3. รายงานให้เขต , กรมฯ (ส่งแบบสรุปทาง )
11
สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขต
1. สนับสนุนวิชาการให้แก่จังหวัดต่าง ๆ 2. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของจังหวัดและศูนย์ ฯ
12
ส่วนกลาง กรมส่งเสริมการเกษตร
1. รวบรวมข้อมูลของแต่ละศูนย์ วิเคราะห์/ ประมวลผล 2. จัดทำข่ายเตือนการระบาดระดับประเทศ ผ่านทางสื่อinternet /วิทยุ / หนังสือพิมพ์ / โทรทัศน์ 3.รายงานผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารกรมฯทราบ ผู้รับผิดชอบ :ส่วนบริหารศัตรูพืช กลุ่มงานพยากรณ์และเตือนการระบาด
13
วิธีการสำรวจ แบ่งกลุ่มสำรวจเป็น 5 กลุ่มพืช ดังนี้ ข้าว / พืชไร่ / ไม้ผล-ไม้ยืนต้น / พืชผัก และกลุ่มไม้ดอกไม้ประดับ
14
ตัวอย่างการสำรวจ ชนิดพืช ชนิดศัตรูพืช วิธีการสำรวจ ข้าว
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล แมลงหล่า หนู หอยเชอรี่ โรคไหม้ นับจำนวนศัตรูพืชที่พบ /จุด สำรวจร่องรอยการทำลายที่พบทั้งแปลง พบกี่จุดใส่ผลรวม นับจำนวนไข่/ ตัวหอยที่พบ ทั้งแปลงใส่เป็นผลรวม นับจำนวนใบ/ รวงที่เกิดโรค จุดละ10ใบ/รวง
15
แบบสำรวจศัตรูข้าว
16
แบบสรุปสำรวจศัตรูข้าวระดับอำเภอ
17
แบบสรุปสำรวจศัตรูข้าวระดับจังหวัด
18
แบบสรุปสำรวจศัตรูข้าวระดับเขต(ศูนย์)
19
งบประมาณ ดำเนินการ 881 อำเภอ ๆ ละ 3,200 บาท เป็นเงินทั้งสิ้น 2, 819, 200 บาท เป็นค่าวัสดุและค่าใช้จ่ายที่จำเป็น เช่นค่าอุปกรณ์ เครื่องเขียน และค่าน้ำมันเชื้อเพลิงของเจ้าหน้าที่
20
การรายงาน อำเภอรายงานจังหวัดทุกวันพุธ(แบบสรุประดับอำเภอ) ทาง /เอกสารทางราชการ จังหวัดรายงานศูนย์ฯ/เขต /กรมฯ(แบบสรุประดับจังหวัด) ทาง /เอกสารทางราชการ ศูนย์ฯรายงานเขต /กรมฯ(แบบสรุประดับศูนย์) ทาง /เอกสารทางราชการ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.