ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPairat Chatichai ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
โครงการ ร้านก๋วยเตี๋ยวมาตรฐาน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ( ใ น พื้ น ที่ เ ข ต เ ท ศ บ า ล น ค ร สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี )
2
ก๋วยเตี๋ยว อาหารยอดนิยม พบสารกันเสียในเส้นก๋วยเตี๋ยว
(30 ตย. ตกมาตรฐาน คิดเป็นร้อยละ 50) พบสารตะกั่วปนเปื้อนในน้ำจากหม้อต้ม
3
สารปนเปื้อนอื่นๆในวงจรก๋วยเตี๋ยว
ลูกชิ้น (สารกันเสีย บอแร็กซ์) เนื้อสัตว์ (สารเร่งเนื้อแดง) ผักทุกประเภท เช่น ถั่วงอก ผักบุ้ง (สารฟอกขาว ยาฆ่าแมลง) เครื่องปรุงแต่ง เช่น ถั่วลิสง พริกป่น กระเทียมถุง (อะฟลาทอกซิน) แป้งสีเย็นตาโฟ (สี) ผงชูรส น้ำปลา น้ำส้มสายชู น้ำมะนาวเทียม (กรดสังเคราะห์) น้ำ น้ำแข็งสำหรับบริโภค (เชื้อ ปนเปื้อนจากการแช่ของสด)
4
ความสะอาดของภาชนะ วัสดุ อุปกรณ์
สุขลักษณะของสถานที่ สุขลักษณะของผู้ปรุง ผู้เสริฟ
5
วัตถุประสงค์ ประชาชนจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทางเลือก
ในการบริโภคก๋วยเตี๋ยวอย่างปลอดภัย จากร้านก๋วยเตี๋ยวที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน ตามเกณฑ์กำหนด
6
เกณฑ์มาตรฐาน ใช้วัตถุดิบที่ได้มาตรฐาน 2) ผ่านการประเมิน CFGT
(Food safety/อย./แหล่งจำหน่ายที่รับรอง 2) ผ่านการประเมิน CFGT 3) ใช้หม้อปลอดสารตะกั่ว 4) บุคลากรผ่านการประเมินความรู้
7
ภาพหม้อก๋วยเตี๋ยวที่มีรอยเชื่อมตะกั่ว
10
หม้อก๋วยเตี๋ยวที่ใช้ตะกั่วเป็นตัวประสานรอยเชื่อมต่อ
11
รอยเชื่อมที่ไม่ใช้ตะกั่ว (เชื่อมแบบอาร์กอน หรือ TIG)
12
รอยเชื่อมที่ไม่ใช้ตะกั่ว (เชื่อมแบบอาร์กอน หรือ TIG)
13
แผนงาน ประเมินรับรองมาตรฐานร้านที่เข้าร่วมโครงการ
แถลงข่าวเปิดโครงการ (kick of campaign) (15 พฤษภาคม 2551) พิธีลงนามความร่วมมือ มอบป้ายมาตรฐาน (เป้าหมาย 30 แห่ง) สัมมนา นิทรรศการความรู้
14
แผนงาน (เพื่อความยั่งยืน)
สร้างแรงจูงใจสำหรับร้านที่ผ่านมาตรฐาน Package ร้านก๋วยเตี๋ยวมาตรฐาน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประชาสัมพันธ์สนับสนุนด้านการตลาด บริการข้อมูลแหล่งซื้อวัตถุดิบมาตรฐาน
15
ผลที่คาดว่าจะได้รับ การแก้ปัญหาสารปนเปื้อนในก๋วยเตี๋ยว
อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเลือกใช้วัตถุดิบ ที่มีคุณภาพจากแหล่งจำหน่ายวัตถุดิบ ต้นทางที่ผ่านการตรวจสอบ
16
ผลที่คาดว่าจะได้รับ เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือที่ใกล้ชิด
ระหว่างภาครัฐ/องค์กรเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/สื่อมวลชน ผู้บริโภค/ผู้ประกอบการ
17
ผลที่คาดว่าจะได้รับ ประชาชนเกิดความตื่นตัวในการเลือกบริโภคอาหารยอดนิยมประเภทอื่นๆ เช่น ร้านอาหารอาหารทะเล ร้านอาหารอีสาน ร้านอาหาร ที่ต้องใช้น้ำมันทอดซ้ำ เกิดการขยายผล ปรับปรุงพัฒนาให้เกิดมาตรฐานสู่ความปลอดภัย
18
ผู้ดำเนินโครงการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี
ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์สุราษฎร์ธานี เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี
19
หน่วยงานสนับสนุน องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี
สำนักงาน ททท. ภาคใต้ เขต 5 สำนักประชาสัมพันธ์ เขต 5 หอการค้าจังหวัดสุราษฎร์ธานี ชมรมผู้ประกอบการร้านอาหาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.