ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยThanapoom Pumpihon ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
21 Productivity Improvement Tools & Standards ระดับบริหาร ระดับจัดการ
Thailand Quality Award (TQM & TQA) Strategic Planning KPI & Balanced Scorecard Benchmarking ระดับบริหาร Supply Chain Management Business Process Improvement (BPI) Cross-functional Management ระดับจัดการ Activity-based Management (ABM) Activity-based Costing (ABC) Cost of Quality (COQ) JIT IE 7 Waste TPM PM/SM OEE Six Sigma Design of Experiment (DOE) Statistical Quality Control (SQC) ระดับปฏิบัติการ ISO 9000 / ISO / HACCP / GMP / ISO / SA 8000 Problem Solving Waste Assessment 5S / Suggestion Scheme / Visual Control 21
3
โครงสร้าง Kano’s House
Dr. Sirirat Wongprakornkul Dept. Statistics, Science โครงสร้าง Kano’s House TQM TQM: Dr.Kano Customer Satisfaction Goals / Strategies Purpose Concepts Vehicles Techniques Tools ตามทัศนของ Dr.Kano กล่าวว่า การดำเนินการ TQM เปรียบเสมือนการสร้างบ้าน ซึ่งมีองค์ประกอบต่างๆ ดังนี้ - ฐานราก - พื้นคอนกรีตที่แข็งแรง - เสาหลักต้นซ้าย - เสาหลักต้นขวา - เสาต้นกลาง - คานบ้าน - หลังคาบ้าน Motivation Approach Motivation base Infrastructure Intrinsic Technology General Education/Political Stability
4
TQM : The Guilding Principles
Dr. Sirirat Wongprakornkul Dept. Statistics, Science TQM TQM : The Guilding Principles ความมุ่งมั่นของผู้บริหาร การจ้างงานตลอดชีพ ปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสหภาพและ ผู้ประกอบการ ความกลมเกลียวระหว่างพนักงานกับผู้บริหาร ความพึงพอใจของพนักงาน บริหารด้วยข้อมูลจริง แก้ปัญหาที่สาเหตุ เน้นการป้องกัน ใช้กรรมวิธีทางสถิติ แก้ไขเรื่องที่สำคัญก่อน บริหารด้วยวงจร P D C A สร้างระบบมาตรฐานที่มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ความยุติธรรมในการประเมินผล และแบ่งปันประโยชน์
5
Dr. Sirirat Wongprakornkul Dept. Statistics, Science
TQM TQM : The Concepts สร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า มีจริยธรรมและรับผิดชอบต่อสังคม ให้การศึกษาพัฒนาบุคลากรตลอดเวลา ทุกคนในองค์กรมีส่วนร่วมในการสร้างคุณภาพ ให้ความสำคัญกับกระบวนการทำงาน กระบวนการถัดไปคือลูกค้า
6
Dr. Sirirat Wongprakornkul Dept. Statistics, Science
TQM TQM : The Vehicles ระบบบริหารแบบ เข็มมุ่ง ระบบบริหารกระบวนการประจำวัน ระบบบริหารโครงการแบบคร่อมสายงาน ระบบบริการแบบกิจกรรมกลุ่มย่อย ระบบการตรวจวินิจฉัยโดยผู้บริหารระดับสูง
7
Kano’s House: บ้านคาโน
Customer's Satisfaction Goal & Strategy Process Policy 7 QC Tools Oriented Management Standardize Daily 7 New QC Tools Prevention Management Concepts Vehicles Techniques P D C A Cross วิธีการทางสถิติ Market-In Function Next Process Bottom-Up วิธีการอื่นๆ Fact&Data Activities แรงจูงใจ และ แรงกระตุ้น (Motivation and Push) เทคโนโลยีเฉพาะด้าน (Intrinsic Technology)
9
Balanced Scorecard Dr. Sirirat Wongprakornkul
Dept. Statistics, Science Balanced Scorecard เริ่มต้นในปี 1992 เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินผลการดำเนินงานขององค์กรให้ครบถ้วนในทุกๆ ด้าน ในอดีตผู้บริหาร (โดยเฉพาะองค์กรธุรกิจ) จะมุ่งเน้นแต่การประเมินผลในด้านของการเงินเป็นหลัก การประเมินผลทางด้านการเงินอย่างเดียว มีข้อจำกัด ไม่สามารถประเมินในสิ่งที่ไม่สามารถจับต้อง หรือบันทึกบัญชีได้ เช่น คุณภาพของบุคลากร ชื่อเสียง หรือ ภาพพจน์ บอกให้รู้แต่สิ่งที่เกิดขึ้นในอดีต ถูกพัฒนาขึ้นโดย Robert Kaplan และ David Norton เพื่อเกื้อหนุนต่อการประเมินผลทางด้านการเงิน
10
Balanced Scorecard คืออะไร?
Dr. Sirirat Wongprakornkul Dept. Statistics, Science Balanced Scorecard คืออะไร? เครื่องมือที่ประเมินผล (Measurement) เครื่องมือในการนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ (Strategy Implementation) เป็นระบบในการบริหารองค์กร (Management Systems) เพื่อใช้ในการประเมินและทบทวนกลยุทธ์ที่ได้ทำไป และหา แนวทางในการ พัฒนาองค์กรให้ดีขึ้น
11
การเรียนรู้และการพัฒนา
BSC: เครื่องมือที่ประเมินผล โดย 4 มุมมอง ซึ่งมุ่งเน้นที่ตัวชี้วัดเป็นหลัก การเงิน (Finance) วิสัยทัศน์/กลยุทธ์ (Vision/Strategy) กระบวนการทำงาน (Internal Process) ลูกค้า (Customer) การเรียนรู้และการพัฒนา (Learning and Growth)
12
เปรียบเทียบ 4 มุมมองใน BSC ของภาคเอกชนกับภาครัฐ
การเงิน (Finance) ลูกค้า (Customer) กระบวนการภายใน (Internal Process) เรียนรู้และเติบโต (Learning & Growth) ประสิทธิผลตามพันธกิจ (Effective; Run the business) คุณภาพการให้บริการ (Quality; Serve the Customer) ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ(Efficiency; Manage resources) การพัฒนาองค์กร (Build Capacity)
13
มุมมองทั้งสี่ด้านของ Balanced Scorecard
การเงิน (Financial Perspective) วัตถุประสงค์ (Objectives) ตัวชี้วัด (Measures or KPIs) เป้าหมาย (Target) สิ่งที่จะทำ (Initiatives) ลูกค้า (Customer Perspective) วัตถุประสงค์ (Objectives) ตัวชี้วัด (Measures or KPIs) เป้าหมาย (Target) สิ่งที่จะทำ (Initiatives) กระบวนการ ทำงาน (Internal Process Perspective) วัตถุประสงค์ (Objectives) ตัวชี้วัด (Measures or KPIs) เป้าหมาย (Target) สิ่งที่จะทำ (Initiatives) วิสัยทัศน์/กลยุทธ์ (Vision/Strategy) การเรียนรู้ และพัฒนา (Learning & Growth Perspective) วัตถุประสงค์ (Objectives) ตัวชี้วัด (Measures or KPIs) เป้าหมาย (Target) สิ่งที่จะทำ (Initiatives) มุมมองทั้งสี่ด้านของ Balanced Scorecard
14
ประเด็นยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการ แผนผังเชิงยุทธศาสตร์(Strategy Map)
การประเมินในภาพรวมขององค์กร(Corporate Scorecard) แผนปฏิบัติการ (Action Plan) เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย แผนงาน/โครงการ งบประมาณ Mission ประสิทธิผล Customer คุณภาพ Internal Process ประสิทธิภาพ Learning & Growth การเรียนรู้และพัฒนา ตัวชี้วัดระดับสำนัก/กอง ตัวชี้วัดระดับบุคคล
15
ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2550
ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2550 วิสัยทัศน์ : มหาวิทยาลัยแห่งการวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นสถาบันชั้นนำของประเทศ โดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยแห่งคุณภาพ มหาวิทยาลัยแห่งการพัฒนาชุมชนและประเทศชาติ และเป็นมหาวิทยาลัยที่มีการบริหารจัดการที่ดี พันธกิจ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ให้เป็นที่ยอมรับในระดับมาตรฐานสากลที่มุ่งเน้นการพัฒนาชุมชนและสังคมให้เข้มแข็ง
16
มหาวิทยาลัยแห่งการวิจัย
ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2550 มหาวิทยาลัยแห่งการวิจัย มหาวิทยาลัยแห่ง การเรียนรู้ คุณภาพ มหาวิทยาลัยแห่งการพัฒนา ชุมชนและประเทศชาติ ผลิตบัณฑิต วิจัย บริการวิชาการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยที่มีการบริหารจัดการที่ดี
17
มิติประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์
วิสัยทัศน์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำของประเทศ โดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยแห่งคุณภาพ มหาวิทยาลัยแห่งการพัฒนาชุมชนและประเทศชาติ และเป็นมหาวิทยาลัยที่มีการบริหารจัดการที่ดี มหาวิทยาลัยแห่งการวิจัย ประเด็นยุทธศาสตร์ 1.การผลิตบัณฑิตมุ่งส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : การบริการวิชาการและการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่เสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : การวิจัยและพัฒนาที่สร้างองค์ความรู้เพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : การบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ บัณฑิตมีคุณลักษณะพึงประสงค์และตรงความต้องการของชุมชนและประเทศ แหล่งสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ที่ตอบสนองต่อการเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของประเทศ ศูนย์กลางการบริการวิชาการและแหล่งอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สนับสนุนการพัฒนาและเป็นประโยชน์ต่อ ชุมชน สังคม และประเทศ องค์กรมีการบริหารจัดการตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มิติประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ บัณฑิตที่มีคุณภาพและตรงความต้องการของประเทศ ผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่เพิ่มศักยภาพการแข่งขันของประเทศ บริการวิชาการแก่สังคม มิติคุณภาพ มีผลงานวิจัยที่สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ที่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ บริการวิชาการที่เป็นการถ่ายทอดนวัตกรรม องค์ความรู้และต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาสังคม หลักสูตรที่ได้มาตรฐานและมีความโดดเด่นตอบสนองการพัฒนาประเทศ เป็นแหล่งรวมผลงานวิจัย ผลงานวิชาการ ที่เป็นเลิศ มิติประสิทธิภาพ การบริหารหลักสูตรและการเรียนการสอนที่ดี ระบบการพัฒนาบุคลากรและนักวิจัยที่มีคุณภาพสูง ระบบการบริหารงานวิจัย ที่มีประสิทธิภาพและนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ได้ ระบบบริการวิชาการและถ่ายทอดนวัตกรรมเพื่อประโยชน์ทางสังคมและพาณิชย์ มิติการพัฒนาองค์กรและการเรียนรู้ ระบบการบริหารจัดการตามแนวทางการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี พัฒนาระบบทรัพยากรมนุษย์และการจัดการความรู้ พัฒนาระบบการเงิน บัญชีและงบประมาณและการพัสดุ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนและการวิจัย พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการจัดการ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประชา สัมพันธ์ และการตลาด การบริหารทรัพย์สิน
18
STRATEGIC PLANNING ด้านการเงิน ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการ
รักษาสภาพคล่อง ทางการเงิน ผลกำไร เพิ่มรายได้ ลดต้นทุน ด้านลูกค้า เพิ่มส่วนแบ่ง การตลาด สร้างความพึงพอ ใจของลูกค้า ด้านกระบวนการ พัฒนา/ปรับปรุง ผลิตภัณฑ์ใหม่ ปรับปรุงประสิทธิภาพ การผลิตด้วย JIT พัฒนาระบบ IT ในการรับ/ส่งข้อมูล Network ของลูกค้า ด้านองค์กรและการเรียนรู้ พัฒนาบุคลากร รองรับระบบ JIT การวางแผนกำลังคน (Manpower Manage) กำหนดและประเมิน KPI ในทุกระดับ
19
การดำเนินการปรับปรุงกระบวนการอย่างเป็นระบบ
Dr. Sirirat Wongprakornkul Dept. Statistics, Science การดำเนินการปรับปรุงกระบวนการอย่างเป็นระบบ
20
PDCA- QC Story - DMAIC PDCA QC Story DMAIC Plan
1. ค้นหาและกำหนดหัวข้อปัญหา Define 2. วางแผนโครงการ 3. สำรวจสภาพปัจจุบันและตั้งเป้าหมาย Measure 4. วิเคราะห์สาเหตุ/กำหนดแผนการแก้ไข Analyze Do 5. กำหนดมาตรฐานการตอบโต้และการปฏิบัติ Improve Check 6. ตรวจติดตามผลกับเป้าหมาย Control Act 7. การทำให้เป็นมาตรฐานติดตามอย่างต่อเนื่อง
21
Dr. Sirirat Wongprakornkul
Dept. Statistics, Science KAIZEN
22
การทำงานให้น้อยลง ทำเรื่องที่ควรทำ ให้เป็นเรื่องที่ได้ทำ
Dr. Sirirat Wongprakornkul Dept. Statistics, Science KAIZEN คืออะไร ? การทำงานให้น้อยลง ทำเรื่องที่ควรทำ ให้เป็นเรื่องที่ได้ทำ การเลือกหรือเปลี่ยนแปลงวิธีการทำงานเพื่อที่จะ สามารถบรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
23
การทำงานให้ น้อยลง โดยปล่อยปละละเลยมักง่าย =
Dr. Sirirat Wongprakornkul Dept. Statistics, Science การทำงานให้ น้อยลง โดยปล่อยปละละเลยมักง่าย = อุบัติเหตุ, ของเสีย, ล่าช้า, ประสิทธิภาพตกกำไรลดลง โดยการเปลี่ยนแปลง วิธีการทำงาน = KAIZEN
24
ประสิทธิผล/ผลลัพธ์/กำไร
Dr. Sirirat Wongprakornkul Dept. Statistics, Science In-put Out-put ทำให้มากขึ้น เวลา แรงงาน ค่าใช้จ่าย ทำให้น้อยลง ประสิทธิผล/ผลลัพธ์/กำไร
25
KAIZEN ไคเซ็น ให้ความสำคัญกับพนักงาน มุ่งสร้างความเป็นทีม
Dr. Sirirat Wongprakornkul Dept. Statistics, Science KAIZEN ไคเซ็น ให้ความสำคัญกับพนักงาน มุ่งสร้างความเป็นทีม มุ่งมั่นเพื่อความเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น พร้อมที่จะเริ่มต้นใหม่อยู่เสมอ เมื่อไม่สำเร็จ เริ่มใหม่อีกครั้ง ให้พนักงานได้ร่วมรับรู้ การปรับปรุงที่เกิดขึ้น ใช้ตัวชี้วัดผลงาน ที่เห็นได้ชัดเจน
26
หลักการทำไคเซ็น Let’s Make things better;
1. ไคเซ็น คือสิ่งที่ทำเพื่อตนเอง 2. การบีบคอตนเอง ย่อมไม่เกิดประโยชน์ต่อตนเอง 3. ดังนั้น การบีบคอตนเอง ย่อมไม่ใช่ไคเซ็น Let’s Make things better; It’s getting better all the time. 1. อะไรที่ไม่เป็นประโยชน์กับตนเอง ไม่ใช่การไคเซ็น 2. ไม่จำเป็นต้องทำสิ่งที่ไม่ใช่ไคเซ็น 3. ดังนั้นไม่จำเป็นที่จะต้องทำสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์กับตนเอง
27
CUSTOMER Dr. Sirirat Wongprakornkul Dept. Statistics, Science
Just 2 cam
28
การเรียนรู้ขององค์กร
กระบวนการ SIPOC การออกแบบ OUTPUT S Supplier INPUT Process P C Customer Value Added and Non-Value Added การช่วยปรับปรุงความสามารถของผู้ส่งมอบและคู่ค้าให้สูงขึ้น เพื่อให้ผู้ส่งมอบ และคู่ค้าเอื้อประโยชน์ต่อการปรับปรุงความสามารถของอค์กรเองให้สูงขึ้นด้วย กระบวนการคัดเลือกผู้ส่งมอบ มีเป้าหมายที่จะลดผู้ส่งมอบให้น้อยลง และเพิ่มจำนวนผู้ส่งมอบที่มีคุณภาพให้มีมากขึ้นด้วย การประเมินผล การเรียนรู้ขององค์กร
29
Are We Doing Things Right? Are We Doing The Right Things?
SIPOC Model Are We Doing Things Right? (How?) Are We Doing The Right Things? (What?) Input Process Output Outcome Input: Resources, including cost and workforce Process: Activities, efforts, workflow Output: Products and services produced Outcome: Results, accomplishments, impacts Performance Measures
30
SIPOC Model Input Process Output Outcome ประสิทธิภาพ ประหยัด
ประสิทธิผล
31
WM SIPOC Model Inputs Process Outputs 5M Create value to customers
New products New services New market New business New processes New technology 5M Man Machine Material Method Money Create value to customers Quality Cost Delivery Safety Morale Environment Ethics Improvement
32
ความหมายของ 5ส Dr. Sirirat Wongprakornkul Dept. Statistics, Science
5ส คือ เทคนิคหรือวิธีการจัดหรือปรับปรุงสถานที่ทำงาน หรือสภาพการทำงานให้เกิดความสะดวก ความเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด เพื่อเอื้ออำนวยให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน เพิ่มความปลอดภัยและคุณภาพของงานสูงขึ้น
33
5 ส ความหมาย 1. SEIRI (เซริ) = สะสาง
การสำรวจและแยกให้ชัดเจนว่าของสิ่งใดจำเป็น และสิ่งใดไม่จำเป็นในการใช้งาน แล้วขจัดของที่ไม่จำเป็นออกไปจากพื้นที่รับผิดชอบ 2. SEITON (เซตง) = สะดวก การจัดวางของที่จำเป็นในการทำงานให้เป็นระบบระเบียบ และง่ายหรือสะดวกในการนำไปใช้งาน 3. SEISO (เซโซ) = สะอาด การดูแลรักษาหรือปัดกวาดเช็ดถูทำความสะอาดสถานที่ โต๊ะทำงานอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ ให้สะอาดและพร้อมในการปฏิบัติงานอยู่เสมอ 4. SEIKETSU (เซเคทซึ) = สุขลักษณะ การรักษาและปรับปรุงการปฏิบัติ 3 ส แรก โดยกำหนดเป็นมาตรฐานและปฏิบัติให้ดียิ่งขึ้น และรักษาให้ดีตลอดไป 5. SHITSUKE (ชิทซึเคะ) = สร้างนิสัย การปฏิบัติอย่างต่อเนื่องจนเกิดจิตสำนึกหรือเกิดความเคยชินเป็นนิสัย
34
แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม
Dr. Sirirat Wongprakornkul Dept. Statistics, Science แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ รางวัลคุณภาพแห่งชาติ Thailand Quality Award Malcolm Baldrige National Quality Award
35
ขอบคุณค่ะ ผศ.ดร.ศิริรัตน์ วงศ์ประกรณ์กุล ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์
Dr. Sirirat Wongprakornkul Dept. Statistics, Science ขอบคุณค่ะ ผศ.ดร.ศิริรัตน์ วงศ์ประกรณ์กุล ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ ห้องทำงาน SC ชั้น 4 อาคาร SC.06 โทรศัพท์/โทรสาร สำนักงานประเมินและประกันคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์ ห้องทำงาน ชั้น 3 อาคารศูนย์บริการวิชาการ โทรศัพท์/โทรสาร
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.