งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต

2 การสะท้อนของคลื่น การสะท้อนของคลื่น ( Reflection of Wave )

3 - การสะท้อนของคลื่น การสะท้อนของคลื่น ( Reflection of Wave )

4 - การสะท้อนของคลื่น การสะท้อนของคลื่น ( Reflection of Wave )
ความถี่ของคลื่นสะท้อนมีค่าเท่ากับความถี่ของคลื่นตกกระทบ อัตราเร็ว ความยาวของคลื่นสะท้อนมีค่าเท่ากับ อัตราเร็ว ความยาวคลื่นตกกระทบเสมอ ถ้าการสะท้อนไม่สูญเสียพลังงาน จะได้อัมพลิจูดของคลื่นสะท้อน มีค่าเท่ากับอัมพลิจูดของคลื่นตกกระทบ

5 การสะท้อนของคลื่นแบ่งตามลักษณะของตัวสะท้อนได้ 2 แบบ
การสะท้อนของคลื่น แบ่งตามลักษณะของตัวสะท้อนได้ 2 แบบ 1 ตัวสะท้อนมีปลายปิด (Fixed end)

6 - การสะท้อนของคลื่นแบ่งตามลักษณะของตัวสะท้อนได้ 2 แบบ
การสะท้อนของคลื่น แบ่งตามลักษณะของตัวสะท้อนได้ 2 แบบ 2 การสะท้อนปลายเปิด (Free end)

7 การสะท้อนที่รูปทรงแบบต่าง ๆ
1 ผิวเส้นตรง

8 - การสะท้อนที่รูปทรงแบบต่าง ๆ
1 ผิวเส้นตรง เมื่อหน้าคลื่นวงกลมกระทบฉากเส้นตรง คลื่นสะท้อนจะมีหน้าคลื่นเป็นวงกลมเช่นกัน โดยมีจุดศูนย์กลางเสมือน (Image) อยู่ทางด้านตรงข้าม

9 - การสะท้อนที่รูปทรงแบบต่าง ๆ
2 ผิวโค้งพาราโบลา

10 การหักเหของคลื่น การหักเหของคลื่น Refraction of wave

11 - การหักเหของคลื่น การหักเหของคลื่น Refraction of wave
การหักเหของคลื่นคือ การที่คลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งไปสู่ อีกตัวกลางหนึ่ง มีผลทำให้เกิดการเปลี่ยนอัตราเร็วและความยาวคลื่น โดยมีความถี่คงเดิม

12 - การหักเหของคลื่น การหักเหของคลื่น Refraction of wave
กรณีที่ 1 การเคลื่อนที่ของคลื่นเชือกผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน

13 - การหักเหของคลื่น การหักเหของคลื่น Refraction of wave
กรณีที่ 2 คลื่นน้ำหน้าตรงวิ่งผ่านรอยต่อตัวกลางที่มีความเร็ว ไม่เท่ากัน ในทิศตั้งฉากกับรอยต่อตัวกลาง

14 - การหักเหของคลื่น การหักเหของคลื่น Refraction of wave
กรณีที่ 1 การเคลื่อนที่ของคลื่นเชือกผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน

15 - การหักเหของคลื่น การหักเหของคลื่น Refraction of wave
กรณีที่ 2 คลื่นน้ำหน้าตรงวิ่งผ่านรอยต่อตัวกลางที่มีความเร็ว ไม่เท่ากัน ในทิศตั้งฉากกับรอยต่อตัวกลาง

16 - การหักเหของคลื่น

17 - การหักเหของคลื่น การหักเหของคลื่น Refraction of wave
กรณีที่ 3 คลื่นหน้าตรงวิ่งผ่านรอยต่อตัวกลางที่มีความเร็วไม่ เท่ากันในทิศทางที่ไม่ตั้งฉากกับรอย ต่อตัวกลาง

18 ตัวอย่างการหักเหของคลื่น
ตัวอย่างการหักเหของคลื่น Refraction of wave

19 - ตัวอย่างการหักเหของคลื่น
ตื้น 1 30 Sin 3o Sin o ลึก 2 Sin o . Sin 3

20 แหล่งกำเนิดอาพันธ์ แหล่งกำเนิดอาพันธ์ ( Coherent Source )
คือ แหล่งกำเนิดคลื่นที่มีความถี่เท่ากัน ความยาวคลื่นเท่ากัน อัตราเร็วเท่ากัน แอมพลิจูดเท่ากัน แต่เฟสตรงกันหรือต่างกันคงที่

21 การรวมตัวกันของคลื่นน้ำ
1. ถ้าสันคลื่นพบสันคลื่นจะเกิดจากรวมกันแบบเสริมสร้าง

22 - การรวมตัวกันของคลื่นน้ำ
2. ถ้าท้องคลื่นพบท้องคลื่นจะเกิดการรวมกันแบบเสริมสร้าง

23 - การรวมตัวกันของคลื่นน้ำ
3. ถ้าสันคลื่นพบกับท้องคลื่นจะรวมกันแบบหักล้าง

24 คลื่นนิ่ง คลื่นนิ่ง ( Stationary or standing wave )

25 - คลื่นนิ่ง คลื่นนิ่ง

26 - คลื่นนิ่ง คลื่นนิ่ง ( Stationary or standing wave )

27 การแทรกสอดแบบอาพันธ์

28 - การแทรกสอดแบบอาพันธ์

29 - การแทรกสอดแบบอาพันธ์

30 - การแทรกสอดแบบอาพันธ์

31 - การแทรกสอดแบบอาพันธ์
1. การแทรกสอดของคลื่น 2 ขบวน เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน

32 - การแทรกสอดแบบอาพันธ์
2. การซ้อนทับของคลื่นที่วิ่ง คนละแนว

33 ตัวอย่าง ตัวอย่าง การแทรกสอดของคลื่น 2 ขบวน
เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน S1 และ S2 เป็นแหล่งกำเนิดคลื่นอาพันธ์เฟสตรงกันให้คลื่นผิวน้ำมีความยาวคลื่น 4 เซนติเมตร ถ้า S1 และ S2 อยู่ห่างกัน 8 เซนติเมตร คลื่นนิ่งที่เกิดบน S1 และ S2 จะมีบัพ และปฏิบัพกี่แนว 1. 4 แนว และ 5 แนว แนว และ 6 แนว 3. 5 แนว และ 6 แนว แนว และ 7 แนว

34 -ตัวอย่าง ตัวอย่าง การแทรกสอดของคลื่น ที่เคลื่อนที่คนละแนว

35 - ตัวอย่าง การแทรกสอดแบบอาพันธ์ 2. การซ้อนทับของคลื่นที่วิ่ง คนละแนว

36 - ตัวอย่าง ตัวอย่าง การแทรกสอดของคลื่น ที่เคลื่อนที่คนละแนว

37 Tsunami

38 Help


ดาวน์โหลด ppt คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google