ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNipaat Tantasatityanon ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
โดย พฤกษ์ ยิบมันตะสิริ ภาควิชาพืชไร่ และศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ ม. เชียงใหม่
3
ระดับ ผู้กำหนดนโยบาย ผู้ปฏิบัติการ ชุมชน
4
หน่วยปฏิบัติงานภาคเหนือตอนบน
สำนักพัฒนาส่งเสริมการเกษตรเขตที่ 6 สำนักวิจัยและพัฒนาเกษตรเขตที่ 1 เชียงใหม่ เกษตรจังหวัด เกษตรอำเภอ ศูนย์ส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี ประจำตำบล TTC หน่วยเกษตรเคลื่อนที่ Mobile Unit (MU)ประจำเขตเลือกตั้ง (เกษตร ประมง ปศุสัตว์ พัฒนาที่ดิน ป่าไม้)
5
กระบวนการทำงานระดับชุมชน
วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน คัดเลือกและวิเคราะห์พื้นที่เป้าหมาย: - ระบบการผลิตในแต่ละสภาพนิเวศน์ ประเด็นความไม่ยั่งยืน ตัวชี้วัดความไม่ยั่งยืน กำหนดทางเลือกใหม่และแผนปฏิบัติงาน การดำเนินงาน การประเมินผล การสะท้อนกลับของเกษตรกร การปรับตัวและสร้างนวตกรรมใหม่ ของเกษตรกร ข้อมูลเชิงพื้นที่และเวลา บทบาทของผู้รู้ท้องถิ่น กลุ่มผู้เกี่ยวข้อง การจัดลำดับความสำคัญ กระบวน FSR, FFS
6
สิ่งที่เข้าไปปรับเปลี่ยนหรือเสริมสร้างศักยภาพ
มีผลต่อความยั่งยืน ใช้ประโยชน์และทรัพยากรจากองค์ความรู้ท้องถิ่น เพิ่มรายได้ สร้างงานและสร้างความเป็นธรรม สนับสนุนการเสริมสร้างศักยภาพชุมชน เพิ่มขีดความสามารถการผลิตและความมั่นคงทางอาหาร อื่นๆ
7
การพัฒนาวิธีการอย่างต่อเนื่อง
การจัดกระบวนการเรียนรู้ การกำหนดเกณฑ์และพัฒนาตัวชี้วัด การวิเคราะห์ผู้เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์บทบาทชาย หญิง การจัดลำดับความสำคัญ การวิเคราะห์ส่วนได้ส่วนเสีย การจัดระบบองค์ความรู้พื้นบ้าน การมีส่วนร่วมของเกษตรกรในการปรับปรุงพันธุ์พืช อื่นๆ
8
การประเมินเทคโนโลยี พัฒนาขีดความสามารถในการประเมินผลกระทบที่ระดับต่างๆ
เช่น ท้องถิ่น ภูมิภาค ประเทศ นานาประเทศ ตัวอย่าง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยด้านอาหาร ซึ่งมีผล ต่อการส่งออก เกษตรกับการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ สิทธิบัตรทางปัญญา
9
ผู้ใช้ผลงาน ผู้กำหนดนโยบาย นักวิจัย นักส่งเสริม และ นักพัฒนา
กลุ่มเกษตรกร องค์กรท้องถิ่น
10
ตัวอย่างการเพิ่มผลผลิตข้าวในพื้นที่นาลุ่ม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.